บทบาทนักทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การด้านพนักงานของวิสาหกิจขนาดกลาง

Main Article Content

ธนายุ ภู่วิทยาธร

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทนักทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การด้านพนักงานของวิสาหกิจขนาดกลาง เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 170 คน โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยใช้สถิติแบบความถดถอยเชิงพหุ (Multiple regression Analysis) วิธีการแบบลำดับชั้น (Stepwise)

          ผลการวิจัยพบว่า บทบาทด้านการเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหาร และบทบาทด้านการเป็นหุ้นส่วนธุรกิจ ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การด้านพนักงานวิสาหกิจขนาดกลาง ซึ่งสามารถอธิบายความแปรปรวนประสิทธิผลองค์การด้านพนักงานของวิสาหกิจขนาดกลางได้ 58.9% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับบทบาทด้านการเป็นที่พึ่งของพนักงาน และบทบาทด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ไม่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การด้านพนักงาน  

 

          This research aims to study of the roles of HR affecting employee effectiveness of medium enterprises .The sample group of this study were 170 samples. Data were collected by questionnaires and the reliability at 0.97 and were analyzed using multiple regression analysis and stepwise.

          The study results found that: administrative expert and strategic partner affected employee effectiveness of medium enterprises. Which could explain employee’s effectiveness 58.9% percent of employee effectiveness variance at statistically significant level of 0.05. Employee champion and Change Agent did not affect employee effectiveness. 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ ดำดัด. (2549). บทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ในมุมมองของผู้บริหารระดับสูงและในมุมมองของผู้บริหารหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในบรรษัทข้ามชาติ:กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างบริษัทข้ามชาติญี่ปุ่นบริษัทข้ามชาติสหรัฐอเมริกาและบริษัทข้ามชาติสวิตเซอร์แลนด์. ภาคนิพนธ์โครงการบัณฑิตศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

เกรย์ เดสเลอร์. (2552). กรอบความคิดสำหรับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ แปลโดยชำนาญ ปิยวนิชวงษ์ และคณะ. กุรงเทพฯ:

เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น.

จิรประภา อัครบวร. (2550). การศึกษาการจัดทำตัวชี้วัดในงานทรัพยากรมนุษย์(รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการงานบุคคล สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย.

เดโช ธนโชคจินดา. (2550). ปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและย่อมในโครงการสร้างผู้ประกอบการใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาความสามารถทางการแข่งขันเชิงอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ตรีนวลนุช กองผาพา. (2552). บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่ศึกษากรณีวิสาหกิจขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ภัทรา นาคน้อย. (2551). การใช้งบการเงินเพื่อการบริหารของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในกลุ่มอุตสาหกรรมของจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ยุทธศักดิ์ สุภสร. (2557). ดร.ยุทธศักดิ์สุภสรเพื่อSMEsยั่งยืน.สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.mbamagazine.net/index.php/entrepreneur/357-smes

วรรณี พิเชษฐสุภกิจ. (2550). บทบาทนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานบันการเงินที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย.วารสารวิชาการคณะบริหารธุรกิจ,3(6), 51-59.

วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2549). การพัฒนาโมเดลสมรรถนะเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 13(1), 1-13.

สมศักดิ์ สวัสดี. (2557). รูปแบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ส่งผลต่อประสิทธิผลขององค์การวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์ วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

สัชฌกร ศรีอรัญญ์. (2553). บทบาทของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามการรับรู้ของพนักงานธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด(มหาชน):กรณีศึกษาพนักงานไทยพาณิชย์(มหาชน)สำนักงานใหญ่. สารนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.). (2554). ข้อมูลทั่วไปแจกแจงตามรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจและรูปแบบของการประกอบกิจการรายจังหวัด. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2557, จาก http://119.63.93.73/smephase3/ReportViewer.aspx?Filename=Report2

อารี เพ็ชรรัตน์. (2553). ระบบงานHRในSMEsผ่านมุมมองของที่ปรึกษา. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2557, จาก http.//www.aree-associates.com

Black, K. (2013). Business Statistics,Binder Ready Version:For Contemporary Decision Making(7th ed.). New York: John Wiley & Sons.

Gautam, D. K. (2015). Strategic integration of HRM for organizational performance: Nepalese reality. South Asian Journal of Global Business Research, 4(1), 110-128.

Guest, D. & Conway, N. (2011). The impact of HR practices, HR effectiveness and a ‘strong HR system’ on organisational outcomes: a stakeholder perspective. International Journal of Human Resource Management,22(8), 1686-1702.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational and Psychological Measurement,30, 607-610.

Lemmergaard, J. (2009). From administrative expert to Strategic parner. Employee Relations,31(2), 182-96.

McEvoy, G. M. & Buller, P. F. (2013). Human resource Management practices in Mid-Sized enterprises, American Journal of Business,28(1), 86-105.

Robbins, S. P. & Judge, T. (2015). Organizational behavior (16th ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Sang Long, C., Khairuzzaman Wan Ismail, W. & Mohd Amin, S. (2011). Internal consultation skill and linkage with the critical strategic roles of HR practitioners in Malaysia. Journal of Management Development, 30(2), 160-174.

Ulrich, D. (1997). Measuring Human Resource: An Overview of practice and prescription for results. Human Resource Management,36(3), 303-320.

Translated Thai References

Akaraborworn, C. (2007). A study of the performance indicators in human resources(Research Report). Bangkok: Personnel Management Association of Thailand. [in Thai]

Dessler, G. (2009). Paradigms for human resources management Trans Piyawanichwong, C. et al. Bangkok: Pearson Education. [in Thai]

Dumdad, K. (2006). Roles and Functions of Human Resources Department in Executives perspective and Human Resources Professional’s perspective in Transnational Corporation:A Comparative Study of Japanese,U.S.and Swiss Corporations. Thesis Master of Sciences Human Resource and Organization Development, National Institute of Development Administration. [in Thai]

Kongphapa, T. (2009). The Role of Modern Human Resource Management: A Case Study of Large Enterprises in KhonKaen Province.Thesis Master of Arts Program in Development Administration Faculty of Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University. [in Thai]

Naknoi, P. (2008). The financial statements for the management of enterprises,small and medium enterprises.And small enterprises in the industrial sector of the province. Thesis Master of Business Administration thesis Business Administration, Walailak University. [in Thai]

Office of Small and Medium Enterprises Promotion. (2011). General information distribution model based on economic activity and patterns of business by province. Retrieved November 15, 2014, from http://119.63.93.73/smephase3/ReportViewer.aspx?Filename=Report2 [in Thai]

Pannitamai, V. (2006). Developing Competency Modeling’s for Human Resource Management. Journal of Public and Private Management, 13(1), 1-13. [in Thai]

Phetrat, A. (2010). HR systems in SMEs through the perspective of a consultant. Retrieved November 12, 2014, from http.//www.aree-associates.com [in Thai]

Pichetsuphakit, W. (2007). The Roles of Human Resource Executives of The Financial Roles of Human Resource Executives of The Financial Institute Listed in The Stock Exchange of Thailand. RMUTT Global Business and Economics Review,3(6), 51-59. [in Thai]

Savasde, S. (2014). Human Resource Management Model Affecting To Productivity In SMEs. Doctor of Philosophy Program in Organization Development and Human Capability Management, Burapha University. [in Thai]

Sriaran, S. (2010). The role of human resource management based on the recognition of a banker Thailand(Thailand):Thailand Case Study of Siam Commercial Employees Public Company Limited. Thesis Master of Public Administration Department of Public Administration Graduate, Dhurakij Pundit University. [in Thai]

Supasorn, Y. (2014). Dr.Yuthasak Supasorn To sustain able SMEs. Retrieved November 15, 2014, from http://www.mbamagazine.net/index.php/entrepreneur/357-smes [in Thai]

Tanachockchinda, D. (2007). The Key Success Factors of in Small and medium-sized enterprises on New Entreprenurs Creation(NEC)Project. Thesis Master of Science Program, King Mongkut’s University of Technology Thonburi. [in Thai]