การพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

นันทพร แสงอุไร
สุพรรณี สมานญาติ

บทคัดย่อ

           การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อตรวจสอบและประเมินรูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญ 17 คน โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) (2) การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารโรงเรียน 23 คน ครู 191 คน และคณะกรรมการสถานศึกษา 81 คน ของสถานศึกษาในโครงการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (World Class Standard School) แบบเข้มข้น (Intensive School) จำนวน 37 โรงเรียน และ (3) การประเมินความถูกต้องของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 15 คนในการสนทนากลุ่ม (Focus Group  Discussion) เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบประเมิน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบวัฒนธรรมคุณภาพประกอบด้วย 10 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ภาวะผู้นำ (2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (3) การวางแผนกลยุทธ์ (4) กระบวนการและระบบ (5) การทำงานเป็นทีม (6) การมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ (7) ผลลัพธ์ขององค์กร (8) ความเชื่อ (9) ค่านิยม และ (10) รูปแบบพฤติกรรม 2) การตรวจสอบโดยผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษา ซึ่งเป็นผู้บริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา และการประเมินความถูกต้องของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 15 คน โดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) พบว่า มีเหมาะสมและมีความถูกต้อง

 

            The purposes of this research were 1) to study the quality cultural model and 2) to determine and evaluate the quality cultural model of schools under the office of the Basic Education Commission. The research procedures consisted of 3 steps as follows: (1) developed the quality cultural model using 17 experts' opinions through Delphi Technique (2) examined the propriety of the quality cultural model of schools under the Office of Basic Education Commission, participants were 23 school administrators, 191 teachers and 81 school board members of 37 World Class Intensive Standard Schools. (3) evaluated the accuracy of the quality cultural model by 15 experts through focus group discussion. The research tools were questionnaires and evaluation forms. Analyzing by content analysis, mean, standard deviation, median, range and inter-quartile. The research findings revealed that 1) The components of the quality cultural model were (1) Leadership (2) Human Resources Development (3) Strategic Planning (4) Processes and System (5) Teamwork (6) Customer Focus (7) Organizational Results (8) Beliefs (9) Values and (10) Behavioral Patterns. 2) The propriety and the accuracy of the quality cultural model of schools under the office of the Basic Education Commission based on the verifications of administrators, teachers, and school board members and through focus group discussion were found.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2546). ปฏิบัติการวิจัยอนาคตด้วย EDFR. วารสารบริหารการศึกษา,1(2), 19-31.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2552). วัฒนธรรมองค์การในโรงเรียนรางวัลพระราชทาน:การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา. วิทยานิพนธ์ปริญญา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นภัทร์ แก้วนาค. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. เอกสารอัดสำเนา.

ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2551).แผนกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก. ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารอาชีวศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

พนพ เกษามา. (2546). การบริหารคุณภาพเพื่อความเป็นเลิศ/อยู่รอด/ยั่งยืน: การสร้างวัฒนธรรม คุณภาพขององค์กรคุณภาพ. Management Best Practice,3(14), 38-46.

รุ่งรัชดาพร เวหะชาติ. (2548). การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2545).การจัดการคุณภาพ:จากTQCถึงTQM,ISO9000และการประกันคุณภาพ. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2551). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). ข้อมูลการประเมินภายนอกรอบสองของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาโดยสมศ.วันที่8กันยายน2553. กรุงเทพฯ: เอกสารอัดสำเนา.

สำนักเลขานุการคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ. (2550). Thailand Quality Awardเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศปี2550. กรุงเทพฯ: จิรวัฒน์ เอ็กซ์เพรส.

สุภัทร พันธ์พัฒนกุล. (2554). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีประสิทธิผลสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

Deal, T. & Peterson, K. (1993). Strategies for building school cultures: Principals as symbolic leader. In M. & H.J. Walberg (eds.).Educational leadership and school culture. Berkeley, CA: Mc Cutchan.

Goetsch, D. L. & Davis, S. (2000). Quality Management :introduction to total quality management for production,process and services (3rd ed.). Ohio: Pearson Prentice Hall.

Heckman, P. E. (1993). School restructuring in Practice: reckoning with the culture of school. International Journal of Education Reform,2(3), 263-271.

King, S. W. (2002). Effective Leadership for Quality Achievement and Organization all earning. Ph.D. Dissertation, Portland State University.

Owens, R. G. (2004). Organizational Behavior in Education.Boston, MA: Pearson.Peterson, K. & Deal, T. (1998). How leaders influence the culture of school. Educational Leadership,56(1), 28-30.

Schein, E. H. (1988). Organization Culture. WP # 2088-88.

Sergiovanni, J. T. & Tobert, J. S. (1988). Supervision Human Perspectives(4th ed.). New York: Mc Graw-Hill Book Company.

Tebbano, M. D. (2002). “A Study of the Relationship between the Preferred Leadership Stylesof School District Superintendents and the Capability of Become Professional Learning Organizations” Ed.D. Thesis, Seton Hall University, College of Education and Human Services.

Translated Thai References

Bureau of Educational Testing, Office of The Basic Education Commission. (2010).The Information of External Evaluation of Secondary Schools, Report of the Office of Nation Education Standards and Quality Assessment (Public Organisation). September 8, 2010. Bangkok: Copier papers. [in Thai]

Chatakan, V. (2008). Technical Management for Professional Administrators. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Kaewnak, N. (2012). Techniques to Analyze Qualitative Data. (Copier papers). [in Thai]

Kesama, P. (2003). Management Best Practice, Survival, Sustainability: Creating a Culture of Quality in the Quality Organization. Management Best Practice,3(14), 38-46. [in Thai]

Ketsuwan, R. (2002). The Quality Management: TQC,TQM, ISO9000 and Quality Assurance. Bangkok: Borpit printing. [in Thai]

Khejornnan, N. (2008). Organizational Behavior. Bangkok: Se-education. [in Thai]

Poonpattaracheewin, C. (2008). The Future of Action Research: Ethnographic Delphi Future Research (EDFR). Journal of Educational Administration, 1(2), 19-31. [in Thai]

Punpattanakul, S. (2011).The Development of an Effective Secondary School Administration Modelunder Office of the Basic Education Commission. The degree of Doctor of Philosophy. Program in Educational Administration, Graduate College of management, Sripatum University. [in Thai]

Secretary of the National Quality Award. (2007). Thailand Quality Award: TQA Criteria for Performance Excellence 2007. Bangkok: Jirawat Express. [in Thai]

Thavinkarn, D. (2009).The Organizational Culturein Granted Royal Award School: An Ethnographic Research. Ph.D. Dissertation, Khon Kaen University. [in Thai]

Tungkunanan, P. (2008). Strategic Plan for Developing Quality Culture in Vocational Colleges in the Eastern Region of Thailand Under the Office of Vocational Education Commission .Ph.D. Dissertation, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang. [in Thai]

Vehachart, R. (2005). The Development of a Model of Total Quality Management in Basic Education Institutions. Doctoral Dissertation, Burapa University. [in Thai]