ความคิดเห็นและความคาดหวังต่อรายการสุขภาพ ทางโทรทัศน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

วรัญญา แผ่อารยะ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
          การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความคาดหวังต่อการชมรายการสุขภาพทางโทรทัศน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย และวิเคราะห์กลยุทธ์ทางการสื่อสารของรายการสุขภาพทางโทรทัศน์โดยการวิเคราะห์เนื้อหารายการจำนวน 6 รายการจากทั้งหมด 14 รายการ จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และแบบเจาะจง
รายการสุขภาพทางโทรทัศน์ และสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาจำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และแบบเจาะจงนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยของรัฐบาลและเอกชนในกรุงเทพมหานคร ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นตรงกันว่ารายการสุขภาพทางโทรทัศน์นำเสนอความก้าวหน้าทางการแพทย์โดยการสัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด ความคาดหวังของนักศึกษาในอนาคต ยังคงต้องการให้มีการนำเสนอความก้าวหน้าทางการแพทย์ในรูปแบบการสัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเช่นเดียวกัน นักศึกษาต่างเพศและต่างมหาวิทยาลัยมีความคิดเห็นและความคาดหวังตอ่ รายการสขุ ภาพทางโทรทัศน์แตกต่างกนั อย่างมีนียสำคััญทางสถิติที่ 0.05 การวเิ คราะหเ์ นือ้ หาพบวา่รายการสุขภาพทางโทรทัศน์ใช้กลยุทธ์การนำเสนอสารเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ

Abstract
          This study is survey research with the following bjectives : to study the opinion and expectation of university students on TV health programmes and to explore the message strategies used in the TV health programmes by conducting content analysis from 6 of 14. From selected by multi-stage sampling techniquesin including purposive sampling selection. A set of questionnaire was used to collect the data from 400 students in health science major selected by multi-stage
sampling techniques in including purposive sampling selection. Descriptive statistics such as frequencies, percentage, mean and standard deviation were used to describe the demographic

characteristics, opinion and expectation of TV health programmes. Inferential statistics such as t-test and F-test were used for hypothesis testing. Findings : The content of TV health programmes presented the medical advancement by interviewing the medical experts the most. Most Students
also expected the future programmes to have more medical advancement by interviewing medical experts. Students with different gender and at a different university had different opinions on viewing and on TV health programmes at a expectation significant level of 0.05. In presenting the content. The content analysis revealed that the TV health programmes utilized more positive than negative approach.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลรัฐ อินทรทัศน์. (2547). การสื่อสารเพื่อสุขภาพ: วิวัฒนาการและการก้าวสู่ความท้าทายในศตวรรษที่ 21.กรุงเทพมหานคร : กมลรัฐ อินทรทัศน์, พรทิพย์ เย็นจะบก และสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กระทรวงสาธารณสุข. (2549). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 10 พ.ศ. 2550-2554. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงสาธารณสุข.

กิติมา สุรสนธิ. (2544). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จิตรา เอื้อจิตรบำรุง. (2544). การเปิดรับข่าวสาร การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจต่อข้อมูลข่าวสารยาแก้ปวดลดไข้ที่โฆษณาผ่านสื่อมวลชนของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชวรัตน์ เชิดชัย. (2547). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสื่อสารมวลชน. กรุงเทพมหานคร : บพิตรการพิมพ์.

ดวงดาว พันธ์พิกุล. (2544). การให้สุขศึกษาตามแนวนโยบายสุขบัญญัติแห่งชาติในรายการสุขภาพทางโทรทัศน์.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดารารัตน์ เจริญนาค. (2551). การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้ชมในเขตกรุงเทพมหานครต่อรายการเพื่อสุขภาพ “รายการคลับสุขภาพ” ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นิภาพรรณ สุขศิริ. (2540). ทิศทางของการดูแลสุขภาพในรายการสุขภาพทางโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญธรรม คำพอ. (2541). การศึกษาความแตกต่างระหว่างผู้ยอมรับและไม่ยอมรับวิทยาการแผนใหม่: กรณีศึกษาเฉพาะกรณีมูลนิธิบูรณะชนบทหมู่ที่ 1 อําเภอสรรคบุรีจังหวัดชัยนาท. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ปรมะ สตะเวทิน. (2546). หลักนิเทศศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

ประเวศ วะสี. (2533). การปรับทรรศนะทางการแพทย์และการสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบ้าน.

ปาริชาต สถาปิตานนท์ และคณะ. (2546).การสื่อสารสุขภาพ ศักยภาพของสื่อมวลชนในการสร้างเสริมสุขภาพ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2534). การวิเคราะห์ผู้รับสาร. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลัดดา ปิยเศรษฐ์. (2549). กระบวนการสื่อสารด้านสุขภาพทางวิทยุชุมชน. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

สมสุข หินวิมาน. (2546). แนวทางการศึกษาและการเข้าสู่ปัญหาเรื่องการสื่อสารกับสุขภาพ.วารสารวิจัยสังคม, 26(มกราคม-มิถุยายน 2546), 99-137.

สุกัญญา คงนิวัฒน์ศิริ. (2549). ความต้องการข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุภาภรณ์ พรหมดีราช. (2541). ความพึงพอใจของผู้ชมรายการสุขภาพกับการดูแลตนเอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตว ิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

หลุย จำปาเทศ. (2552). จิตวิทยาสัมพันธ์ (ENCOUNTERING PSYCHOLOGY). พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Best, J.W. (1977). Research in Education. (3rd ed). New Jersey : Prentice Hall Inc.

Oskamp, S. (1977). Attitudes and Opinions. New Jersey : PrenticeHall Inc.

Remmer, H.H. (1954). Introduction to Opinion and Attitude. New York : Harper and Brothers Publishers.

Robinson, John P. (1972). Mass Communication and Information Infusion in Kline and Tichenor, Current Perspective in Mass Communication Research. London : Sage Publication.