ปัจจัยที่มีผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ในความคิดเห็นของผู้บริโภค เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง: กรณีศึกษา สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

Main Article Content

สลิลทิพย์ เข็มทอง

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ในความคิดเห็นของผู้บริโภค เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กรณีศึกษา สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ (2) เพื่อศึกษาผลกระทบของการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ที่มีผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ในความคิดเห็นของผู้บริโภค ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กรณีศึกษา สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่ชมหรือเข้าร่วมกิจกรรมสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นประจำ อาศัยอยู่จังหวัดในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง จำนวน 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์  จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร จำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ และระดับการศึกษา แตกต่างกันมีผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ในความคิดเห็นของผู้บริโภค ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กรณีศึกษา สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (2) ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมด้านการประชาสัมพันธ์ และความรับผิดชอบต่อสังคมด้านการส่งเสริมการขาย มีผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร ในความคิดเห็นของผู้บริโภค ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กรณีศึกษา สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

 

          This research aims to (1) study individual characteristics that affect corporate image in opinions of the consumers in the lower region of Northeastern Thailand in case study of Thai Television Channel 3, and (2) study impacts of integrated marketing communications with social responsibility of the organization affecting the corporate image in the opinions of the consumers in the lower region of Northeastern Thailand in case study of Thai Television Channel 3. The samples were 400 persons who have regularly watched or joined activities of Thai Television Channel 3 and have resided in the lower region of Northeast Thailand total 8 provinces, namely, Nakhon Ratchasima, Chaiyaphum, Buriram, Surin Ubon Ratchathani, Amnat Charoen, Sisaket and Yasothon. The measurement reliability was equal to 0.890. The statistics used for data analysis were Percentage, Mean, Standard Deviation, T-Test, One-Way Analysis of Variance, Analysis of Pearson's Correlation Coefficient and Multiple Regression. The research results can be concluded as follows: (1) The samples whose differ ages and educational levels affected corporate image in the opinions of the customers in the lower region of Northeastern Thailand in case study of Thai Television Channel 3 differently with statistical significance level of 0.05 and (2) The social responsibility of the organization in part of integrated marketing communications, the social responsibility in part of public relations and the social responsibility in part of promotion affected corporate image in the opinions of the customers in the lower region of Northeastern Thailand in case study of Thai Television Channel 3 differently with statistical significance level of 0.05.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จิรัชญา โยธาอภิรักษ์. (2551). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ปตท. จํากัด(มหาชน) และผลของภาพลักษณ์ต่อทัศนคติที่มีต่อตราสินค้า ปตท. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัญฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ฐิติการ วรรณพงศ์. (2554). ความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ของประชาชนเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในการโฆษณาสินค้า และพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้า กรณีศึกษา ประชาชนในเขตพื้นที่อําเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ฐิวากร ศรีลิโก. (2554). บทบาทหน้าที่ของสื่อกับการช่วยเหลือสังคมในภาวะภัยธรรมชาติเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ องค์กร กรณีศึกษาครอบครัวข่าว 3 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3. รายงานโครงการเฉพาะบุคคล วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทัศนีย์ ธนอนันต์ตระกูล. (2552) ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาการบัญชีสิ่งแวดล้อมความรับผิดชอบต่อสังคมและภาพลักษณ์องค์กรของธุรกิจกระดาษในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .

ธีรพันธ์ โล่ห์ทองคํา. (2544). กลยุทธ์สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุงเทพฯ: ทิปปิ้งพอยท์.

นิสากร โลกสุทธิ์. (2551). กลยุทธ์การใช้กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) เพื่อการสร้างภาพลักษณ์ของบริษัทสิงห์ คอร์เปอเรชั่น จํากัด. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ นามบุดดี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการกับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อภาพลักษณ์ของพลังงานทดแทนในอําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม, วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์. (2553). CSR การจัดการความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร: ปฐมบท. กรุงเทพฯ: ธิงค์บียอนด์บุ๊คส์.

พงษ์ชัย เอียวบัวเจริญ. (2554). ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กรณีศึกษาธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จํากัด (มหาชน), วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

มินทร์ฐิตา จิราธรรมวัฒน์. (2553). การรับรู้และทัศนคติที่ประชาชนมีต่อภาพลักษณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (CSR) ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย รามคําแหง.

รัศมี สุขประเสริฐ. (2551). ผลกระทบของค่านิยมขององค์กรและคุณภาพการให้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ของธุรกิจโรงแรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสารคาม.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2546). การประชาสัมพันธ์ ฉบับสมบูรณ์, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

วีณา แก้วมรกต. (2552). การรับรู้และความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีต่อความเป็นสถานีครอบครัว ข่าว 3. รายงานโครงการเฉพาะบุคคลปริญญามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วุฒิกร สินธุวาทิน. (2556). Ch 3 in 7 Words. สืบค้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2556, จาก http://www.brandage.com/Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspxtabID=7&ArticleID=7479&ModuleID=701&GroupID=1786

สถาบันไทยพัฒน์ มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2556). “ซีเอสอาร์คืออะไร” Thai Corporate Social Responsibility. สืบค้นเมื่อเดือนพฤษภาคม, 2556, จาก http://www.thaicSr.com/2006/03/blog-post 20.html

Kotler. (2000). Marketing Management: The Millenniumed. New York: Prentice Holl Inc.

Kotler, P. (2003). Marketing Management. Singapore: Prentice-Hall.

Modal. (2556). MBA Holiday. สืบค้นเมื่อเดือนมิถุนายน 2556, จาก http://mbaholiday.blogspot.com/2013_01_01_archive.html

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (30 ed.). New York: Harper and Row Publication.

Translated Thai References

Aiewbuachareon, P. (2011). Public Opinions about Image of Corporate Social Responsibility, Case Study of Standard Chartered Bank (Thailand) Public Company Limited. Master of Arts Thesis, Kasetsart University. [in Thai]

Jirathammawat, M. (2010). Recognition and Attitudes of Public on Image of Corporate Social Responsibility (CSR) of PTT Public Company Limited. Master of Business Management Thesis, Ramkhamhaeng University. [in Thai]

Kaewmorakot, W. (2009). Recognition and Opinions of Public in Bangkok on Channel 3 Family News Station. Master's Degree Individual Project Report: Thammasat University. [in Thai]

Lapirattanakul, W. (2003). Public Relations, Complete Issue. Bangkok: Chulalongkorn University.[in Thai]

Loksutthi, N. (2010). The Strategy of Using Activities of Corporate Social Responsibility (CSR) to Createlmage of Singha Corporation Company Limited. Master of Arts Thesis, Chulalongkorn University. [in Thai]

Narmbuddee, N. (2010). The Relationship between Integrated Marketing Communication Strategies with Satisfaction of Customers on Image of Renewable Energy in Mueang District, Mahasarakham Province. Master of Business Management Thesis, Rajabhat Mahasarakham University. [in Thai]

Nonthanathorn, P. (2010). CSR: Corporate Social Responsibility of Organization: Genesis. Bangkok: Think Beyond Books. [in Thai]

Sinthuwatin, W. (2013). Ch 3 in 7 Words. Retrieved June 2013, from http://www.brandage.com/Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspxtablD=7&ArticleID=7479&ModulelD=701&GroupID=178 [in Thai]

Sriliko, T. (2011). Roles and Duties of Media and Social Assistance in Situation of Natural Disasters to Promote Organizational Image, Case Study of Channel 3 Family News, Thai TV 3 Television Station. Individual Project Report, Master of Journalism, Thammasat University. [in Thai]

Sukkaprasert, R. (2008). Effects of Organizational Values and Service Quality on Image of Hotel Business in the Northeast Region. Master of Management Thesis, Mahasarakham University. [in Thai]

Thanaanuntrakul, T. (2009). The Relationship between the Development of Environmental Accounting, Corporate Social Responsibility, and Organizational Image of Paper Businesses in Thailand. Master of Accounting Thesis, Mahasarakham University. [in Thai]

Thaipat Institute. (2013). "What is CSR”, Thai Corporate Social Responsibility. Retrieved May 2013, from http://www.thaicsr.com/2006/03/blog-post_20.html [in Thai]

Thongkham, T. (2001). Integrated Marketing Communication Strategies. Bangkok: Tipping Point. [in Thai]

Wannapong, T. (2011). Knowledge, Understanding, and Attitudes of People about Corporate Social Responsibility of Business Enterprises in Product Advertisement and Purchasing Decision Behaviors, Case Study of Populations in Mueang District, Ubonratchathani Province. Master of Business Management Thesis, Ubonratchathani University. [in Thai]

Yothaapirak, J. (2008). Factors Influencing the image of Corporate Social Responsibility of PTT Public Company Limited and Image of Attitudes on PTT Brand. Master of Arts Thesis, University of the Thai Chamber of Commerce. [in Thai]