บทเรียนรู้ผู้นำศาสนาเพื่อพัฒนาสังคมชายแดนใต้: กิจกรรมทัศนศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรม

Main Article Content

ปรียา แก้วพิมล
วันพิชิต ศรีสุข
อุไรรัตน์ หน้าใหญ่

Abstract

การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายประสบการณ์เรียนรู้ของนักศึกษาผู้นำศาสนาที่เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา ใช้การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 21 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การเขียนสะท้อนคิดรายบุคคลทุกวันในช่วงกิจกรรมทัศนศึกษา 1 สัปดาห์ ตรวจสอบผลการวิจัยโดยผู้ให้ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1) มีประสบการณ์ทางอารมณ์ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ 2) การเข้าใจตัวเอง รู้จักและเข้าใจเพื่อนศาสนิกอื่น และรู้จักสังคมที่หลากหลาย และ 3) ตระหนักในบทบาทความเป็นผู้นำศาสนาเพื่อสังคมด้านการพัฒนาตนเองและการแสดงบทบาทผู้นำในอนาคต ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการทัศนศึกษาเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่

Article Details

How to Cite
แก้วพิมล ป., ศรีสุข ว., & หน้าใหญ่ อ. (2018). บทเรียนรู้ผู้นำศาสนาเพื่อพัฒนาสังคมชายแดนใต้: กิจกรรมทัศนศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรม. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 5(1), 71–82. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/110099
Section
Research Article

References

1.คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2558). หลักสูตรบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2560, จาก http://huso.pn.psu.ac.th/th/index.
php/curriculum/curriculum-ma-dr.

2.เจษฎา ความคุ้นเคย, ประพันธ์พงษ์ ชิณพงษ์, เบ็ญญา พึ่งโพธิ์, และเบ็ญญาภา พึ่งโพธิ์. (2557). อิทธิพลของศักยภาพผู้นำ�
ชุมชนและการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ,
5(1), 1-24.

3.ดรัลรัตน์ ภมรสุข. (2550). บทบาทของผู้นำ�ศาสนาอิสลาม(โต๊ะอิหม่าม) ในการบริหารพัฒนาชุมชนมุสลิม : กรณีศึกษา
มัสยิดในเขตมีนบุรี. รายงานการวิจัย. วิทยาลัยศาสนศึกษา.

4.ดุษฎีรัตน์ โกสุมภ์ศิริ. (2558). ภาวะผู้นำ�แบบดุลยภาพ – ภาวะผู้นำ�สำ�หรับศตวรรษที่ 21 (Equilibrium Leadership –
Leadership for 21st Century). สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2560, จาก http://leader1234.blogspot.
com/2015/09/21-scholarly-article-equilibrium.html

5.เติมทรัพย์ จั่นเพชร. (2557). การพัฒนาตนเองของผู้ใหญ่ (Self-development of adults). วารสารเกื้อการุณย์, 21(1), 17-23.

6.พระไพศาล วิสาโล. (2549). นิมิตใหม่ของผู้นำ�ศาสนาในภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559 จากhttp://
www.visalo.org/article/PosttoDay254902_1.htm

7.พระอาจารย์สุริยา มหาปัญโญ. (2554). วิกฤตศาสนากับการศึกษาแบบหมาหางด้วน. สืบค้น 12 มกราคม 2560, จาก
www.watsomphanas.com/.../Ru-Sue-Sue%20(Allpages)%208-02-2011_37_47.pdf

8.ภูมิพงศ์ จอมหงส์พิพัฒน์, ไชยา ยิ้มวิไล, และสำ�ราญ กำ�จัดภัย. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำ�เหนือผู้นำ�สำ�หรับ
การปกครองส่วนท้องถิ่นกรณีศึกษาสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำ�บลในจังหวัดสกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา,
10(51), 29-42.

9.ประทีป หมวกสกุล, จงรัก พลาศัย, ทวี บุญภิรมย์, สุพัฒน์ ศรีสวัสดิ์, อะลี เจ๊ะแล และอวยชัย เปลื้องประสิทธิ์. (2556).
โครงการวิจัยประเมินผลแผนปฏิบัติงานการพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ พ.ศ. 2555: พื้นที่จังหวัดนราธิวาส.
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(ฉบับพิเศษประจำ�ปี 2556), 53-65.

10.ปรียา แก้วพิมล, เพ็ญนภา พัทรชนม์, ทรงพร จันทรพัฒน์, จิราพร นิ่มดวง, และมาดี โยโน. (2553). สุนทรียสนทนา:
การแสวงหาการดูแลสุขภาพของชุมชนภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้. รายงานการวิจัย
สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

11.วันชัย วัฒนศัพท์. (2551). ประชาเสวนา: กระบวนการสู่ทางออกในปัญหาภาคใต้. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์, 14(1),1-16.

12.สมใจ สุจจิต. (2553). ความคิดเห็นของผู้นำ�ศาสนาอิสลามต่อการนำ�นโยบายของรัฐไปปฏิบัติในการแก้ปัญหาความไม่สงบ
ในสามจังหวัดชายแดนใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา, 5(2), 160-190.

13.สุภางค์ จันทวานิช. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

14.อิบรอฮิม ตาเยะ, ฐิติมดี อาพัทธนานนท์ และอะห์มัด ยี่สุ่นทรง. (2556). บทบาทด้านศาสนาการศึกษาและการบริหารของอิหม่าม
ในจังหวัดนราธิวาส. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี, 24(ฉบับพิเศษมกราคม
– ธันวาคม), 106-115.

15.องค์อร ประจันเขตต์. (2557). การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง : มุมมองในการศึกษาทางการพยาบาล (Transformative
Learning: Nursing Education Perspective). วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3),179-184.

16.Fry, L. W. (2003). Toward a theory of spiritual leadership. The Leadership Quarterly, 14, pp 693-727.
doi:10.1016/j.leaqua.2003.09.001

17.Knowles, M. S. (1975). Self-directed learning: A guide for learners and teachers. Eaglewood Cliffs:
Prentice Hall/Cambridge.

18.Kolb, A. Y.& Kolb, D. A. (2005).“Learning styles and learning spaces: Enhancing experiential learning
in higher education”. Academy of Management Learning and Education, 4(20), pp 193-212.

19.Mezirow, J. (2000). “Learning to think like an adult core concept of transformation theory”.
Critical Perspectives on a Theory in Progress, p 3 -33. Retrieved July 15, 2016, fromhttp://
citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.463.1039&rep=rep1&type=pdf

20.Myint, P. M. K. (2014). Spirituality and religion in women’s leadership for sustainable development in crisis
conditions: the case of Burma. Dissertation and Thesis Doctor of Philosophy in Public Affairs and
Policy Portland State University.

21.United States Institute of Peace. (2011). “Religion and peacemaking throughout the world”. Certificate
Course in Interfaith Conflict Resolution, p 5 - 6. Retrieved July 15, 2016, from www.usip.org/
training/online

22.USAID. (2010). “Muslim religious leaders as partners in fostering positive reproductive health and family
planning behaviors in Yemen: a best practice”. United States Agency International
Development, p 1 – 4 Retrieved July15, 2016, fromhttps://www.k4health .org/sites/default/files/
ESD_Legacy_Religious_Leaders_Yemen_Brief_6_24_10.pdf

23.Yasuno, M. (2008).“The Role of spirituality in leadership for social change”. Spirituality in Higher
Education Newsletter, 3(4), p 1 - 8. Retrieved July15, 2016, from http://spirituality-ucla.edu/
docs/newsletter/4/Maiko-Final.pdf.