ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ปรียนุช ชัยกองเกียรติ

Abstract

การวิจัยเชิงพรรณนา ครั้งนี้  เป็นการศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัยที่มารับบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ  การวิจัยเชิงพรรณนา ครั้งนี้  เป็นการศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัยที่มารับบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 
ศูนย์อนามัยที่ 12  กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าจำนวน 175 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะลง  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลจากฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริม
พัฒนาการเด็กปฐมวัย และคู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง ในคลินิกสุขภาพเด็กดี เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนตุลาคม 2558 - กันยายน 2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การทดสอบไค
แสควร์ ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยกลุ่มนี้มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าด้านการเคลื่อนไหวมากที่สุดร้อยละ 52.0  รองลงมาคือ ด้านการใช้ภาษาและด้านการเข้าใจภาษา ร้อยละ 26.2 ปัจจัยด้านมารดา ได้แก่ อายุ และการให้นมบุตรมีความสัมพันธ์กับ
พัฒนาการสงสัยล่าช้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาครั้งนี้สนับสนุนให้มารดาตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่เหมาะสม และสนับสนุนประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 6 เดือนแรก 

Article Details

How to Cite
ชัยกองเกียรติ ป. (2018). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัย. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 5(2), 161–171. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/117957
Section
Research Article

References

1.กระทรวงสาธารณสุข. (2556). สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

2.กระทรวงสาธารณสุข. (2558).คู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง. นนทบุรี: ทีเอสอินเตอร์พรินต์.

3.กระทรวงสาธารณสุข. (2559).คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย. นนทบุรี: ทีเอสอินเตอร์ พรินต์.

4.กระทรวงสาธารณสุข. (2560).รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขประจำปีงบประมาณ 2561. นนทบุรี: กระทรวง
สาธารณสุข.

5.จินตนา พัฒนพงศ์ธร, ชัยชนะ บุญสุวรรณ และนฤมล ธนเจริญวัชร. (2557). พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย.นนทบุรี: สำนัก
ส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

6.ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์. (2558). พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย เขตบริการสุขภาพที่ 4. วารสารสมาคม เวชศาสตร์ป้องกัน
แห่งประเทศไทย, 5(2), 173-187.

7.ธงภักดิ์ มีเพียร. (2556). พัฒนาการและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย (0-6ปี) ในจังหวัดอุดรธานี.วารสารการ
แพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 21(3), 324-330.

8.เบญจมาศ พระธานี, บัณฑิต ถิ่นคำรพ, และปุญญพัฒน์ ไชยเมล์. (2548). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ลดความเสี่ยงต่อการ
พัฒนาภาษาช้าในเด็กอายุ 2 ปี. รายงานวิจัยนมแม่ ปี 2548 ศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย.

9.พนิต โล่เสถียรกิจ, โชติรส พันธ์พงษ์, วรรณภา กางกั้น, เยาวรัตน์ รัตน์นันท์, สุคนธ์ สุวรรณบันดิษฐ์, ดวงหทัย จันทร์เชื้อ,
และคณะ. (2557). สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กไทย.กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข.

10.พนิต โล่เสถียรกิจ, วิยดาบุญเลื่อง, ถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์, วรรณภา กางกั้น, พรณิชา ชุณหคันธรส,แน่งน้อย ธูปแช่ม
และคณะ. (2558). สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวงสาธารสุข.

11.พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์. (2556). ทฤษฏีจิตวิทยาพัฒนาการ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: แอคทีฟ ฟริ้นท์.

12.เยาว์รัตน์ รัตน์นันต์. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย เขตสุขภาพที่ 8.สืบค้นเมื่อ วันที่ 10
ตุลาคม 2559, จากhttps://203.157.71.148/Information/center/research-web.pdf.

13.วาสนา ถิ่นขนอน และวิลาวัณย์ ชมนิรัตน์. (2555). การพัฒนาแนวทางการให้บริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นโดยครอบครัวมีส่วน
ร่วมในคลินิกฝากครรภ์เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอชัยบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารพยาบาลศาสตร์และ
สุขภาพ, 35(2), 25-33.

14.วิทยา ถิฐาพันธ์. (2558). อายุของแม่กับการตั้งครรภ์. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558, จาก https://www.si.mahidol.
ac.th/th/department/obstretrics_gynecology/dept_article

15.ศิราภรณ์ สวัสดิวร. (2552). Current concepts of breastfeeding.สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี.สืบค้นเมื่อ วันที่ 8
ธันวาคม 2559, จาก https://dlibrary.thaibreastfeeding.org.

16.ศูนย์อนามัยที่ 9. (2559). สถานการณ์พัฒนาการเด็กไทย.สืบค้นเมื่อ วันที่ 9 ตุลาคม 2559, จาก hpc9.anamai.moph.
go.th/ewt_dl_link.php?nid=939

17.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา. (2559). เอกสารสรุปผลการดำเนินงานด้านสาธารณสุข จังหวัดยะลา ประกอบการตรวจ
ราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2/2559. ยะลา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา.

18.อนงรัตน์ เตียวิไล, มาลา ดิลกรัตนชัย, อรพินท์ ตราโต, และกรรณิกา บุตรี. (2559). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพ
เด็กในคลินิกสุขภาพเด็กดีโรงพยาบาลโพธารามจังหวัดราชบุรี. สืบค้นเมื่อ วันที่ 18 ตุลาคม 2559,
จาก www.photharamhosp.go.th/ptrhos/attachments/article/30/ pdfd13.pdf.

19.Anderson, J. W., Johnstone, B. M., & Remley, D. T. (1999). Breastfeeding and cognitive
development: A meta-analysis. American Journal of Clinical Nutrition, 70, 525-535.

20.Gesell, A. (1940). The First Five Years of Life: A Guide to study of the Preschool Child. New York: Harper.