แอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง

Main Article Content

พิชฌาย์วีร์ สินสวัสดิ์

บทคัดย่อ

        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง 2) หาประสิทธิภาพของ
แอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อแอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี จำนวน 40 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง  แบบประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ และแบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


        ผลการวิจัยพบว่า 1) แอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง มีเนื้อหาครบตามขอบเขตการพัฒนา  2) ผลการทดสอบประสิทธิภาพแอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยงที่ได้พัฒนาขึ้น จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน พบว่ามีคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.76, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.36)  และ 3) ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อการใช้งาน
แอปพลิเคชัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.19, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.56)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] ผ่องพรรณ จันธนสมบัติ นันธิดา พันธุศาสตร์ และแสงรวี มณีศรี. (2555). การบริหารความเสี่ยงทางคลินิกของพยาบาวิชาชีพ.
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35(3), 118-124.
[2] Joint Commisson International. (2014). Joint Commission International accreditation standards for
hospitals. (5rd ed). Oakbrook Terrace, IL: Joint Commission on Accreditation of Healthcare organizations.
[3] ธานิล ม่วงพูล และอวยไชย อินทรสมบัติ. (2559). การทดสอบผลประสิทธิภาพแอปพลิเคชันสื่อการสอนศัพท์ภาษาอังกฤษสําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ
ครั้งที่ 3 (น.31-37). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
[4] ธานิล ม่วงพูล และอวยไชย อินทรสมบัติ. (2560). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. ใน การประชุมวิชาการระดับชชาติด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศประยุกต์ ครั้ง ที่ 11, (น.132-138). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก.
[5] AppBrain States. (2562). Android and Google Play statistics. สืบค้นจาก: http://www.appbrain.com/stats/stats-index.
[6] กิตติ์ธเนศ ประยงค์ทรัพย์, เกล้ากัลยา ศิลาจันทร์ และธานิล ม่วงพูล. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อเผยแพร่สมุนไพรไทยบน
แอนดรอยด์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 4 (น.1365-1370). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม.
[7] จันทร์จารึก รัตนเดชสกุล และภาสกร รัตนเดชสกุล. (2561). ความคลาดเคลื่อนทางยากับการใช้ประโยชน์ระบบการจัดการด้านยา.
สืบค้นจาก http://www.suanprung.go.th/medicine/pdf/med04.pdf
[8] กรัณฑ์รัตน์ ทิวถนอม และศุภลักษณ์ ธนานนท์นิวาส. (2552). ความคลาดเคลื่อนทางยาและแนวทางป้องกันเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 2(1), 195-217.
[9] เพียงเพ็ญ ชนาเทพาพร, ศมน อนุตรชัชวาล, และเพียงขวัญ นครรัตรชัย. (2557). การพัฒนาโปรแกรมการเก็บข้อมูลและการประมวลผลการ ให้บริการทาางเภสัชกรรมบนหอผู้ป่วยด้วยโปรแกรมไมโครซอฟแอคเซส. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 17, 27-38.
[10] ศุภกร แพจุ้ย และสิทธิเกียรติบุญชู. (2557). การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เรื่องเลนส์และการเกิดภาพสำหรับนักเรียนั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. สืบค้นจาก http://www.scisoc.or.th/sciweek/model/1421-02.pdf
[11] สิรินธร จียาศักดิ์ และขวัญชนก อิ่มอมรชัย. (2558). แอปพลิเคชันสมุนไพรดูแลสุขภาพบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์.
ใน การประชุมวิชาการระดับประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (NCIT) ครั้งที่ 7 (น.153-158). กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า คุณทหารลาดกะบัง.
[12] ธานิล ม่วงพูล, อวยชัย อินทรสมบัติ, และสุภาพร คงประเสริฐ. (2560). การพัฒนาแอปพลิเคชันบันทึกรายจ่ายลูกน้อยวัยแรกเกิดถึง 2 ขวบ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 3
(น.1-7). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
[13] มงคล รอดจันทร์อวยไชย อินทรสมบัติ และธานิล ม่วงพูล. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันบนแอนดรอยด์ร่วมกับคิวอาร์โค๊ด สำหรับการ บันทึกการเข้าเรียนของนักศึกษาวิชาทหาร. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 5(1), 88-96.
[14] จักรี ทำมาน, และมานิตย์ อาษานอก. (2561). ผลการศึกษาองค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการวิจัยและบริการ วิชาการ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ
นวัตกรรม, 5(1), 122-132.
[15] สว่างวุฒิ ใยสมุทร, อวยไชย อินทรสมบัติ, และธานิล ม่วงพูล. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันการดูแลสุขภาพเบื้องต้นบนแอนดรอยด์.
ใน การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 4 (น.1371-1377). มหาสารคาม:
มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม.