<b>การเปิดรับฟังวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในจังหวัดปัตตานีและใกล้เคียง</b><br> Exposure to Radio Broadcasting of Audience in Pattani and Nearby Areas

ผู้แต่ง

  • ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • พรพิพล อุไรรัตน์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • เยาวลักษณ์ สุวรรณชมภู คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

radio exposure, radio station pattani, radio program

บทคัดย่อ

 

Abstract
The purpose of this quantitative research is to study the exposure to radio broadcasting in general and the FM 107.25 MHz in particular. The population of this study is the people who live in 12 districts in Pattani and nearby areas as well as four other districts in Songkla and Yala, who were able to access the PSU Pattani radio program. The 770 samples were selected from using Taro Yamane with 95% reliability.The results reveal the following: 1) 55.4% were exposed to radio broadcasting. Of
whom, 34% had been continuously exposed to radio broadcasting for 16 years. 36.0% were daily listeners. 65.5% spent the same amount of listening time. 27.8% voted the most popular time between 21:01 and 23:00 hrs. 62.6% reported listening to radio was for relaxation. 67.7% listened at their own home. Most (41.1%) listened through radio transmitter the most listened radio stations were PSU radio station, Pattani MCOT and Yala MCOT respectively. 2) 84% reported listening to PSU Pattani radio station at one point. Of whom, 41.6% reported coming across the station while 48.7% reported switching back and forth between PSU Pattani radio station and others. Most (26.4%) reported listening between 05:00 and 07:00 hours. The most popular programs were “Thai Folk Song with Mr. Bowdum”, “Dawn at Rusamilae”, “Weekend News Talk and Song”, “Thai Folk Song at Night” and “Learning Malay.”

 บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม1) การรับฟังสื่อวิทยุกระจายเสียง และ 2) พฤติกรรมการรับฟังสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี FM 107.25 MHz เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ประชาชนในจังหวัดปัตตานี และใกล้เคียง โดยมีวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการใช้แนวคิดของ Taro Yamane ที่ค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 และสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน รวมทั้งสิ้น 770 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) มีผู้รับฟังสื่อวิทยุ ร้อยละ 55.4 มีการรับฟังอย่างต่อเนื่องมากกว่า 16 ปี ร้อยละ 34.0 รับฟังเป็นประจ�าทุกวัน ร้อยละ 36.0 ส่วนช่วงเวลาที่รับฟัง คือ
21.01-23.00 น. ร้อยละ 27.8 สาเหตุที่รับฟัง คือ เพื่อฟังเพลงมากที่สุด ร้อยละ 74.6 รับฟังผ่านเครื่อง รับวิทยุ ร้อยละ 41.1 สถานีวิทยุที่รับฟังเป็นประจ�ามากที่สุด 3 ล�าดับแรก คือ สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีสถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท.ปัตตานี และสถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท.ยะลา 2) เฉพาะผู้รับฟังสื่อวิทยุ พบว่า เคยรับฟังสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีร้อยละ 84.0 เป็นการรับฟังโดยบังเอิญมากที่สุดร้อยละ 41.6 และมักฟังสลับกับสถานีวิทยุอื่น ร้อยละ48.7 ช่วงเวลาที่ฟังมากที่สุด คือ 05.01-07.00 น.ร้อยละ 26.4 และรายการที่มีผู้รับฟังมากที่สุด 5 ล�าดับแรก คือ ฟังเพลงลูกทุ่งหยามหัวรุ่งกับบ่าวด�า เช้านี้ที่รูสะมิแล เล่าข่าวเช้าวันหยุด ข้าวต้มรอบดึก และสืบสานภาษามลายูค�าส�าคัญ : การรับฟัง, รายการวิทยุปัตตานี, สถานีวิทยุกระจายเสียง


Author Biography

ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา, คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

เผยแพร่แล้ว

2015-07-01