<b> กฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ </b><br> Performance and Responsibilities of the Advisors Under the Vocational Education Commission in 3 Southern Border Provinces

ผู้แต่ง

  • อริยา คูหา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ชัยสิทธิ์ กิจค้า วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี
  • นารีมาน ฮะซานี วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี
  • ภิญญดา อธิรัตนชัย วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี

คำสำคัญ:

advisor, performance, responsibilities, vocational education commission

บทคัดย่อ

Abstract
This research aimed 1) to study and to compare the performance and responsibilities according to age, sex, level of education, salary, family condition, working experiences, teaching load and working position and finally 3) to find out the problems and difficulties on duty. The subjects under study were 284 advisors in 2012. The instruments were a questionnaire of the advisor’s performance and responsibilities under the Vocational Education Commission with .94 of reliability. Data were analyzed by mean, standard deviation, t-test and LSD. The results showed that the advisors’ performance and responsibilities were high in all aspects and that the highest was ethics aspect and the least on skill aspects. The advisors’ performance and responsibilities with differences level of education found the significant differences. The advisors’ performance and responsibilities with differences salary found the significant differences in the aspect of characteristics, academic aspects and skill aspects. The advisors’ performance and responsibilities with differences teaching load found the significant differences. The advisors’performance and responsibilities with differences working position found the significant differences in the aspect of characteristics, academic aspects and personality and human relationship aspects. This research brought about that administrator shouldclearly understand the important of the advisor’s role in developing i.e., practical methods and advisor system, implementation of guidelines in long-term, mentor and should solve an urgently problem i.e., 1) balancing on manpower 2) strengthening its system, 3) selection of being an advisors should set up based on characteristic individually i.e., willingness 4) evaluating an advisor’s performance as perceived by student, 5) establish an advisor’s seminar in providing them additional knowledge of being a good advisor 6) reporting to their parents continuously.



บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ของ
อาจารย์ที่ปรึกษา จ�าแนกตามอายุ เพศ ระดับการศึกษา รายได้ สถานภาพทางครอบครัว ประสบการณ์การท�างานและต�าแหน่งในสถานศึกษา 2) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ อาจารย์ที่ปรึกษา จ�านวน 284 คนใน 3จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในปีพ.ศ. 2555 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามกฤติกรรมและบทบาทหน้าทีของอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ.94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ f-fest และทดสอบรายคู่ด้วย LSDผลการวิจัยพบว่า กฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ความคิดเห็นที่มากที่สุด คือ ด้านจรรยาบรรณ และน้อยที่สุด คือ ด้านทักษะปฏิบัติงาน อาจารย์ที่ปรึกษาที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ อาจารย์ที่ปรึกษาที่มีรายได้ต่างกันมีกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ทั้งโดยรวมและรายด้านต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติด้านคุณลักษณะอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ และด้านทักษะปฏิบัติงาน อาจารย์ที่ปรึกษาที่มีภาระงานสอนต่างกันมีกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีต�าแหน่งในสถานศึกษาต่างกันมีกฤติกรรมและบทบาทหน้าที่ทั้งโดยรวมและรายด้าน ต ่าง กัน อย ่าง มีนัย ส� า คัญทาง สถิติ ด้านคุณลักษณะอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านวิชาการและด้านบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์ นอกจากนี้ข้อเสนอแนะจากการวิจัยมี ดังนี้ ผู้บริหารควรเข้าใจและเห็นความส�าคัญของบทบาทและภารกิจของอาจารย์ที่ปรึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนา เช่น ก�าหนดเป็นนโยบายหลัก พัฒนาระบบงานอาจารย์ที่ปรึกษาในแผนปฏิบัติการในระยะยาว จัดท�าคู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา มีระบบพี่เลี้ยง (Mentor) และเร่งแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1) มีอัตราก�าลังและภาระงานการสอนของอาจารย์ที่เหมาะสม 2) พัฒนาระบบงานอาจารย์ที่ปรึกษาให้เข้มแข็ง 3) การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาควรพิเคราะห์ถึงคุณลักษณะเฉพาะของอาจารย์เป็นรายบุคคล เช่น ความเอาใจใส่ การเข้าใจและให้โอกาสรับฟังปัญหาต่างๆ การให้ค�าปรึกษาช่วยเหลือนักศึกษา การมีจิตบริการ 4) ให้นักศึกษาได้ประเมินผลกฤติกรรมของอาจารย์ที่ปรึกษา 5)ให้อาจารย์ได้อบรมเพื่อเพิ่มพูนการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่ดี 6) รายงานให้ผู้ปกครองได้ทราบข้อมูลของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

คำสำคัญ  กฤติกรรม, ความรับผิดชอบ, ส�านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, อาจารย์

ที่ปรึกษา

Author Biographies

อริยา คูหา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

ชัยสิทธิ์ กิจค้า, วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี

อาจารย์

นารีมาน ฮะซานี, วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี

อาจารย์

ภิญญดา อธิรัตนชัย, วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี

อาจารย์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-07-01