<b>การตัดสินใจซื้อโยเกิร์ตของผู้บริโภค: กรณีศึกษาเมืองมาลัง จังหวัดชวาตะวันออกประเทศอินโดนีเซีย </b><br>Consumers’ Purchasing Decision towards Yogurt: A Case Study in Malang City, East Java Province, Indonesia

ผู้แต่ง

  • แอนนีอีคา กุสุมาสตุตี มหาวิทยาลัยบราวิจายา ประเทศอินโดนีเซีย
  • บัมบัง อาลีนูโกรโฮ มหาวิทยาลัยบราวิจายา ประเทศอินโดนีเซีย
  • อยุทธ นิสสภา คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

คำสำคัญ:

ogistic regression, purchasing decision, yogurt

บทคัดย่อ

Abstract

Yogurt is popular food in Indonesia because it is assured to provide health benefits. The objectives of this research were 1) to investigate socio-economic characteristics of consumers, 2) to examine consumers’ behaviors towards yogurt, and 3) to identify socio-economic factors determining consumers’ purchasing decision towards yogurt in Malang city, East Java province, Indonesia. Primary data were collected using structured questionnaires from a total sample of 400 consumers in urban and sub-urban areas of Malang city. These samples were selected using the multi-stage sampling method. Descriptive statistics and binary logistic regression were applied for data analysis. Empirical results revealed that most surveyed consumers were female students whose ages range between 21-25 years old. They were yogurt buyers who consumed it two times a week for more than a year. They learnt about yogurt from television/internet advertisement and news. The main reason of consuming yogurt was to keep healthy, whereas the surveyed consumers who didn’t consume yogurt due to its uncommon product. Statistically significant variables determining consumer’s purchasing decision towards yogurt were age, sex, occupations such as private officials and housewives, income level ranging between Rp.1,500,001-2,000,000 (approximately 156-208 USD) and location. The outcomes can be utilized by yogurt producers to generate their effective marketing strategies for yogurt products. 

บทคัดย่อ

โยเกิร์ตเป็นอาหารที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในตลาดอินโดนีเซีย เนื่องจากโยเกิร์ตได้รับการยืนยัน ว่ามีประโยชน์ต่อสุขภาพ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทางเศรษฐสังคมของผู้บริโภค 2) วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค และ 3) วิเคราะห์ ปัจจัยทางเศรษฐสังคมที่กำหนดการตัดสินใจซื้อ โยเกิรต์ ของผู้บริโภคในเมืองมาลัง จังหวัดชวาตะวันออก ประเทศอินโดนีเซีย ข้อมูลปฐมภูมิได้จากการสัมภาษณ์ ผูบ้ ริโภคในเขตเมืองและชานเมืองจำนวนทั้งสิ้น 400 คน ด้วยแบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง การสุ่มตัวอย่างใช้ วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วงระหว่าง 15-20 ป ีเปน็ นักศึกษา บริโภค โยเกิร์ตมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์เป็นระยะเวลา มากกว่า 1 ปี ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโยเกิร์ตจาก โฆษณาทางอินเทอรเ์น็ตและโทรทัศน ์เหตุผลที่บริโภค โยเกิร์ตคือ เพื่อบำรุงรักษาสุขภาพ ผู้บริโภคส่วนหนึ่ง ไม่บริโภคโยเกิร์ตเพราะเป็นสินค้าที่พวกเขาไม่รู้จัก ปัจจัยทางเศรษฐสังคมที่กำหนดการตัดสินใจซื้อ โยเกิร์ตของผู้บริโภค ได้แก่ อายุ เพศ อาชีพพนักงาน เอกชน อาชีพแม่บ้าน รายได้อยู่ในช่วง 1,500,001- 2,000,000 รูเปียส์ต่อเดือน (ประมาณ 156-208 ดอลลาร์ สหรัฐ) ผลการวิจัยที่ได้นั้น ผู้ประกอบการโยเกิร์ต สามารถนำไปใช้ประกอบการวางแผนการตลาดที่ เหมาะสมต่อไปอีกด้วย

Author Biographies

อยุทธ นิสสภา, คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Ph.D. (Agricultural and Resource Economics),รองศาสตราจารย,

ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท, คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Ph.D. (Agricultural and Resource Economics),รองศาสตราจารย,

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2014-10-01