การพัฒนาพื้นที่ชายแดนเพื่อการค้าการลงทุนและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

Main Article Content

วีรวิชญ์ ปิยนนทศิลป์

Abstract

The development of Thai border areas adjacent to neighboring countries. This is a main policy of the governance according to the 12th national economic and social development plan in part of country development, International cooperation for development and creating economic conditions at all levels. The main point of the border area development is improving the quality of life of people in the area. The concept of border areas development must take into account the following factors: economics, environment, social and security of country. These development factors relate to information following: relevant public and private agencies, satisfaction and needs of people in the area and guidelines for the development of border areas form all sectors. The data are integrated in the development of border areas and improving the quality of life of people at the same time.

Article Details

How to Cite
ปิยนนทศิลป์ ว. (2018). การพัฒนาพื้นที่ชายแดนเพื่อการค้าการลงทุนและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 27(2), 1–13. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.18
Section
Academic Articles

References

กรมการค้าต่างประเทศ. (2560). การค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2560. จาก https://web.dft.go.th/Portals/0/ContentManagement/Document_Mod684.pdf

กรมการค้าต่างประเทศ. (2560). ดันการค้าชายแดนโนสวนทางการค้าโลก. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2560. จาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/160212/160212.pdf

กาญจนา ศรีพฤทธิ์เกียรติและคณะ. (2551). เศรษฐศาสตร์เพื่อการดำเนินชีวิตที่ดี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จินตนา บุญบงการ. (2552). สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). วี. พริ้นท์ (1991).

เชิญ ไกรนรา. (2555). การศึกษาการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

เชน น้อมศิริ. (2554). ปัญหาการค้าชายแดนไทย-พม่า. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชวินทร์ ลีนะบรรจง. (2554). เศรษฐศาสตร์ติดดิน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัตนา สายคณิตและชลลดา จามรกุล. (2552). เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 6). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). แผนพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 12. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2560. จากhttps://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/115/1.PDF

บูฆอรี ยีหมะ. (2554). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่3). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีรวิชญ์ ปิยนนทศิลป์. (2559). ความเหมาะสมในการเปิดด่านจุดผ่านแดนถาวรไทย-เมียนมา บ้านห้วยต้นนุ่น อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการพัฒนา มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.

สุเทพ นิ่มสาย. (2558). ผลกระทบและการปรับตัวของชุมชนและสังคมเมืองชายแดนในเขตภาคเหนือต่อนโยบายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : กรณีศึกษาเมืองชายแดนจังหวัดเชียงรายและจังหวัดตาก. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สมชนก ภาสกรจรัส. (2551). หลักการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.

สำนักงานศุลกากรที่ 3 จังหวัดเชียงใหม่. ข้อมูลการค้าชายแดน. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2560. จาก https://www.customs.go.th/wps/wcm/connect/Library+cus501th/InternetTH/6/

Weidner W. (1962). Development Administration: A New Focus for Research, in Ferrel Heady and Sybil L.Stokes (ed). Papers in Comparative Administration. University of Michigan.

Wayne, P., Smith, P. and Mills, G. (1991). Human Resource Development: The Field. Prentice-Hall.