การพัฒนาทักษะการใช้ไวยากรณ์ภาษาไทยสำหรับนักศึกษาชาวจีน

Main Article Content

อัจฉราภรณ์ จันทร์สว่าง

Abstract

The objective of this research is studying of the practicing series of Thai word order for Chinese students and the effectiveness of the practicing series of Thai word order for Chinese students to meet the criteria of 80/80. The goal of the series is enhancing a skill of word order for Chinese students. The sampling was26 Chinese students from Education University, Yunnan, China, who enrolled in an 8-month course of teaching diploma, first semester of 2013 academic year of The Far Eastern University. The research instruments in this research are the practicing series of Thai word order for Chinese students, pre-test and post-test.


The results showed the practicing series of Thai word order for Chinese students had an effectiveness of pre-test and post-test scores at 80.49/86.96 respectively which higher than the criteria score. The students’ post-test achievement was higher than pre-test and it had statistically significant at the level of 0.05. 

Article Details

How to Cite
จันทร์สว่าง อ. (2018). การพัฒนาทักษะการใช้ไวยากรณ์ภาษาไทยสำหรับนักศึกษาชาวจีน. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 27(2), 67–79. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.17
Section
Research Articles

References

กรมวิชาการ (2545). หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

เกียรติสุดา บุญส่ง และคณะ. (2553). การใช้ชุดฝึกการอ่าน-เขียนสะกดคำภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวจีน. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.

กำชัย ทองหล่อ. (2537). หลักภาษาไทย. (พิมพ์ครั้งที่10) กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์.

จันจิรา จิตตะวิริยะพงษ์. (2546). อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชาสื่อการสอนระดับประถมศึกษาหน่วยที่8-15. (พิมพ์ ครั้งที่20) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เปลื้อง ณ นคร. (2510). วิชาประพันธ์ศาสตร์ว่าด้วยร้อยแก้ว ฉบับที่1-9 คำบรรยายภาษาไทยชั้นสูงของชุมนุมภาษาไทย. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

ทัศนีย์ องค์สรณะคมกุล. (2546). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการฟังภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม: วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทิพวรรณ นามแก้ว. (2535). แบบฝึกเสริมทักษะการเขียนคำที่มีพยัญชนะ น ง ด ม ก บ เป็นตัวสะกด สำหรับนักเรียนชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทองพูน จุลเดช. (2544). การพัฒนาแผนการสอนการเขียนคำในมาตราตัวสะกดแม่กนโดยใช้สื่อประสมสำหรับนักเรียนชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พัชรธิดา วงศ์ใจหาญ. (2546). กลวิธีการสื่อสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง-พูด ภาษาอังกฤษและกลวิธีในการสื่อสารของนักศึกษาระดับปริญญาตรี: วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รัชตพล ชัยเกียรติธรรม. (2551).ประสิทธิผลการเรียนรู้จากแบบฝึกการเขียนสะกดคำภาษาไทยระดับพื้นฐานในวิชาการอ่านและการเขียนเบื้องต้นสำหรับผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ.มหาวิทยาลัยพายัพ.

รัตน์เรขา ฤทธิศร.(2548). การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสนทนาภาษาไทยสำหรับผู้เรียนภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ.วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 17 (2) 109.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์. (2550). การวิเคราะห์ประโยคภาษาไทยใน สารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย๔๓ 10(10).

วราภรณ์ บำรุงกุล. (2539). อ่านถูก สะกดถูก คำ ความหมายประโยค. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ.

ศศิธร อินตุ่น. (2535). การพัฒนาแบบฝึกการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 . วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริลักษณ์ สกุลวิทย์. (2545). แบบฝึกการออกเสียงและการเขียนคำที่สะกดด้วยแม่กด สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง. การศึกษาค้นค้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธุ์. (2545). คู่มือการสอนภาษาไทยเบื้องต้นในบริบทไทยศึกษาสำหรับชาวต่างชาติ. กรุงเทพ: โครงการร่วมมือด้านการเรียนการสอนภาษาไทยบนฐานของไทยคดีศึกษาทบวงมหาวิทยาลัย.

สมพิศ มาพวง. (2541). การพัฒนาแบบฝึกการเขียนคำภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สนิท สัตโยภาส. (2531). การสร้างแบบฝึกเพื่อช่วยสอนซ่อมเสริมสำหรับนักเรียนชาวเขาชั้นประถมศึกษาปีที่1ที่มีปัญหาด้านการออกเสียงตัวสะกดไม่ชัด. เชียงใหม่:วิทยาลัยครูเชียงใหม่ สหวิทยาลัยล้านนา.

สุนันทา ทองประเสริฐ. (2544). การสร้างแบบฝึก.ชัยนาท: ชมรมพัฒนาความรู้ด้านระเบียบกฎหมาย.

โสภณ สาทรสัมฤทธิ์ผล (2554). ภาษาไทย1. (พิมพ์ครั้งที่5) กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.

อดุลย์ รัตนมั่นเกษม. (2554). หลักไวยากรณ์จีน ฉบับศึกษาด้วยตนเอง. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ: เต๋าประยุกต์.