ผลของการบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดจากการปนเปื้อนของสารแคดเมียมในพื้นที่ตำบลแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

Main Article Content

เลิศ อินทะวาฬ
ณรงค์ศักดิ์ จันทร์นวล

Abstract

This research aims to study the Effects of Impact Management, problems and obstacles, and guidelines for Impact Management of Cadmium Contamination in Mae Taw Sub-District, Mae Sod District, Tak Province. The Effects of Impact Management covered the aspects of agriculture, career, rehabilitation of Cadmium Contamination areas, prevention and control of pollution, and public health. The samples included the government sectors representatives, the project’s participant farmers, and the resident stakeholders. Non – participant observation and interview schedules were employed in data collecting. The results of the study revealed that the residents in Mae Taw Sub-District, Mae Sod District, Tak Province were farmers who formerly grew rice, garlic, and soybean. However, after the private Zinc mining companies were proceeded, the agricultural outputs products mostly obtained Cadmium Contamination which caused troubles to the residents in the area. Subsequently, the intervention projects from the government sectors were launched in taking care of public health, promoting farmers to grow other crops to substitute rice such as corn,sugar cane,and palms, promoting farmers to attend new career projects such as cow fattening,mushroom culture, woman cloth sewing and Producing fertilizer. The Effects of Impact Management were found better people quality of life and better households economic, the Cadmium Contaminated patients could take care themselves. 
They were both physically and mentally healthy. In addition, the Public Support Welfare Fund was set up to help those who received Cadmium Contamination. Problems and obstacles, and guidelines for Impact Management of Cadmium Contamination in Mae Taw Sub-District were deceived in the full research report.

Article Details

How to Cite
อินทะวาฬ เ., & จันทร์นวล ณ. (2018). ผลของการบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดจากการปนเปื้อนของสารแคดเมียมในพื้นที่ตำบลแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 27(2), 115–132. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.26
Section
Research Articles

References

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2535). พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล : https://www.pcd.go.th/info_serv/reg_envi.html

ชัชชัย เทพนามวงศ์. (2559). บริบททางสังคมของชุมชนที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารจัดการขององค์กรปกครองท้องถิ่นส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนบน.ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท – เชียงใหม่

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ภิญโญ คล้ายบวร. (2559). การพัฒนาหลักสูตรสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูงสำหรับนักศึกษาสังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดเชียงใหม่. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ นอร์ท – เชียงใหม่

มนัส สุวรรณ. (2549). การจัดการสิ่งแวดล้อม : หลักการและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

สุรีย์ หน่อโพ. (2550). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการปัญหาที่เกิดจากสารแคดเมียมในพื้นที่ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. การค้นคว้าแบบอิสระ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564).กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.

อิสราพันธ์ ซูซูกิ. (2548). ปัจจัยที่ส่งผลให้พนักงานสถานประกอบการเอกชนทำอาชีพเสริม. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อำไพพรรณ บุพศิริ. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนสารแคดเมียมของประชาชนในพื้นที่ตำบลแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.