แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วกรอบแก้วของโรงเรียนวัดโคกป่าแพง จังหวัดปราจีนบุรี

Main Article Content

ชินะนาฏ ทองระอา
ทักษญา สง่าโยธิน

Abstract

The purpose of this research was to study the direction of product development of Tua Krob Kaew of Watkhohphapang School in Prachin Buri. The investigated samples were Tua Krob Kaew’s consumers in Kabin Buri District, Prachin Buri, in total of 420 persons. Collecting the data was done by questionnaires. The statistics used for analyzing the data were frequency, percentage, mean and standard deviation. Also hypothesis testing was done by using one-way ANOVA and multiple regression.


The results showed that most of the consumers had demand for the product of Tua Krob Kaew at the price of 10 baht per 50 grams and also the premium product packaging was a clear plastic tank with a lid. According to the product components, they absolutely agreed with all of them in the following descending order: the product safety, the product quality, and the physical characteristics, respectively. And the purchase decision making the product was high. In the hypothesis testing, the null hypothesis (H0) was rejected indicating that the packaging designs and the product componentsaffected the buying decision of Tua Krob Kaew at statistically significant level of 0.05.

Article Details

How to Cite
ทองระอา ช., & สง่าโยธิน ท. (2018). แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ถั่วกรอบแก้วของโรงเรียนวัดโคกป่าแพง จังหวัดปราจีนบุรี. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 27(2), 151–164. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.30
Section
Research Articles

References

เกศวดี จันไข. (2555). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนตามแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มน้ำหมากเม่าเพื่อสุขภาพ ในระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์เชิงการค้าของไทย กรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรโนนหัวช้าง อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์ (1991).

ชลธิศ ดาราวงษ์. (2558). การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

สยามรัฐ. (2559). ไทยเบฟ สานพลังขับเคลื่อนประชารัฐ, สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2560. https://www.siamrath.co.th/n/3917

นาวี เปลี่ยวจิตร์, ณัฐชานันท์ สมบัติประธาน และ ปฏิวัติ สุริโย. (2553). การศึกษาและออกแบบตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้สัญลักษณ์ของชุมชนเสม็ดงามให้ศูนย์หัตถกรรมพื้นบ้านการทอเสื่อ หมู่บ้านเสม็ดงาม. คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

ประเทศไทย 4.0 โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจใหม่. (2559). ประเทศไทย 4.0 อะไร ทำไม และอย่างไร, สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2560. จาก https://www.drborworn.com/articledetail.asp?id=16223

ปัทมา วีรชาติยานุกูล. (2555). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพในระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์เชิงการค้าของไทย กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนบ้านน้ำอ้อม ตำบลน้ำอ้อม อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ภาณุพงศ์ ตรงเที่ยงธรรม. (2555). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์อาหารเช้าเพื่อสุขภาพในระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนและผลิตภัณฑ์เชิงการค้าของไทย กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน บ้านน้ำอ้อม ตำบลน้ำอ้อม อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Cochrane, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons. Inc.