Relationship between Motivation and Organizational Commitment of Employees at Thai Namthip Co., Ltd.

Main Article Content

วฤณ บุญเที่ยงตรง
สุธรรม พงษ์สำราญ
สาวิตตรี จบศรี

Abstract

The purposes of this research were to study motivation and commitment level of the organization, comparison of commitment to organizations classified by personal data, and the relationship between motivation and organizational commitment of Thai Namthip employees by using 249 sets of questionnaires.


The motivation in both motivation and support factors was at a high level. The level of commitment to the organization was at a high level. Different family status affected organizations' commitment. Motivation factors correlated with organizational commitment at a moderate level. The supporting factors have a high relationship with organizational commitment. Motivation factors for job characteristics, job responsibility, career progress influencing organizational commitment. Supporting factors for future opportunities for career advancement and job security influencing organizational commitment at the statistical significance level of .05.

Article Details

How to Cite
บุญเที่ยงตรง ว., พงษ์สำราญ ส., & จบศรี ส. (2020). Relationship between Motivation and Organizational Commitment of Employees at Thai Namthip Co., Ltd. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 29(2), 100–113. https://doi.org/10.14456/pyuj.2019.23
Section
Research Articles

References

กฤษฎา ตันเปาว์, น้ำทิพย์ จันนา และอนันตโชค รัตนการุณย์พงศ์. (2559). ความคิดเห็นของพนักงานต่อแรงจูงใจที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน บริษัท ดีไลน์ คอนสตรัคชั่น จำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.

จุฑารัตน์ ศรีใย. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานธนาคารกสิกรไทยสาขาเชียงราย. การค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชัยวัฒน์ โอสถอำนวยโชค. (2555). ปัจจัยจูงใจที่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทที่ปรึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์ กรณีศึกษาพนักงานบริษัทที่ปรึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์แห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปัญญาพร ฐิติพงศ์ และประสพชัย พสุนนท์. (2558). แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร บริษัท อินเตอร์ เอ็กซ์เพิร์ท คอนสตรัคชั่น จำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พัชรินทร์ ผิวนิล. (2556). แรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท ไฮเออร์อิเลคทริค (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรรณา อาวรณ์. (2557). แรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการรัฐสภา ระดับปฏิบัติงาน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สารนิพนธ์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.

สุนิสา รักษาศักดิ์. (2558). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากรในศูนย์ไปรษณีย์สุวรรณภูมิ. การค้นคว้าแบบอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5thed.). New York: Harper Collins Publishers.