Domestic Violence Knowledge Management Center

Main Article Content

Ronnachai Kongsakon

Abstract

"ความรุนแรงในครอบครัว" เป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงและมีความช้ชอนมากขึ้น เพราะสังคมยังมีเจตคติที่ผิดว่า ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวนี้ถือเป็นเรื่องส่วนตัวภายในครอบครัว ที่บุคคลอื่นหรือบุคคลภายนอกไม่ควรเช้าไปยุ่งเกี่ยว1


ความรุนแรงในครอบครัวจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทั้งในระดับบุคคลครอบครัวชุมชน และประเทศชาติ ในระดับบุคคลที่พบเห็นในสังคมเป็นอันดับตันคือ "ผู้หญิง" ที่มักถูกสามีของตนกระทำรุนแรงมากถึงร้อยละ 901 เกิดปัญหาสุขภาพตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นบาดแผลจากการถูกทำร้าย ความพิการทางกาย การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ การอักเสบในอุ้งเชิงกรานการติดเชื้อเอชไอวี่ รวมทั้งปัญหา ผลกระทบทางต้านจิตใจจะมีลักษณะแตกต่างกันไป บางคนมีอาการอาการซึมเศร้าหวาตกลัว เครียด เก็บคต วิตกกังวล ย้ำคิดย้ำทำ ขาตความเชื่อมั่นในตนเอง ประณามตนเอง บุคลิกภาพผิดปกติ สภาพการกินผิดปกติ ไม่ตอบสนองทางเพศ หรืออาจสูญเสียความรู้สึกทางเพศ บางคนทุกข์ทรมานใจจนต้องพึ่งยาเสพติด


สำหรับปัญหาในระดับครอบครัวนั้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสายใยความสัมพันในครอบครัวที่นับวันจะเสื่อมสลายทั้งในด้านปัญหาการหย่รง บทบาทที่ไม่สมบูรณ์ของผู้เป็นพ่อและแม่ และปัญหาเต็กถูกทอดทิ้ง ทั้งนี้ผลจากการสำรวจพบว่า เด็กที่ประสบและเห็นเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัวจะมีปัญหาทางจิตใจรุนแรงไม่ต่งกับเด็กที่ถูกทารุณกรรมทางร่งกายและทางเพศโดยตรง2 และหากเด็กต้องเผชิญกับสภาพเหตุการณ์จริงที่แม่ถูกทุบตีหรือทำทารุณกรรมจะส่งผลให้เด็กมีแนวโน้มเกิดปัญหาทางอารมณ์ หรือมีพฤติกรรมที่รุนแรงมากกว่าเด็กที่ไม่มีประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัวอย่างน้อย 5 เท่า1

Article Details

How to Cite
1.
Kongsakon R. Domestic Violence Knowledge Management Center. Rama Med J [Internet]. 2011 Mar. 28 [cited 2024 Mar. 28];34(1):77-80. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/136027
Section
Special Articles

References

Kongsakon R, Pocham N. Domestic Violence. Bangkok: Sahaprchapanich; 2008.

Edleson JL, Ellerton AL, Seagren AE, Kirchberg SL. Schmidt SO, Ambrose AT. Assessing child exposeure to adult domestic violence. Children Youth Serv Rev. 2007;29:961-71. doi:10.1016/j.childyouth.2006.12.009.

National Statistical Office, Ministry of Information and Communication Technology. The Reproductive Health Survey 2006. Bangkok: National Statistical Office; 2006. Available from: https://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/Reproductive_health/2549/6.%20%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C.pdf.

Aekplakorn W, Kongsakon R. Intimate partner violence among women in slum communities in Bangkok, Thailand. Singapore Med J. 2007;48(8):763-8.

Kongsakon R. Forensic Psychiatry. Bangkok: Banhkok Block Ltd; 2006. Available from: https://doc2.clib.psu.ac.th/public10/283718.pdf.