การบริหารปกครอง: แนวคิดและการพัฒนาสู่การปกครองท้องถิ่น

Main Article Content

อัครวินท์ ศาสนพิทักษ์
นพพล อัคฮาด

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายแนวคิดของรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งเริ่มตั้งแต่รัฐประศาสนศาสตร์แบบดั่งเดิมจนถึงการบริหารปกครอง (Governance) โดยให้ความสนใจในระดับท้องถิ่น รัฐประศาสนศาสตร์แบบดั่งเดิมไม่สามารถปรับตัวไม่ทันต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ได้ ส่งผลให้การบริหารราชการขาดความยืดหยุ่นจนไม่สามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันได้ ซึ่งแนวคิดการบริหารรัฐกิจแนวใหม่ และการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ที่ให้ความใส่ใจประชาชนเสมือนลูกค้าผู้รับบริการ คำนึงถึงความพึงพอใจของประชาชน และส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันให้เกิดผลกำไร ต่อมาแนวการจัดบริการสาธารณะได้เข้ามาแทนที่ โดยปรับมุมมองจาก“ลูกค้า” เป็น "พลเมือง" ผู้ซึ่งตระหนักถึงสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ที่ประชาชนต้องกระทำต่อสังคม ซึ่งเป็นฐานคิดสำคัญของการบริหารปกครอง โดยลดบทบาทของภาครัฐลงให้ภาคประชาชนเป็นตัวแสดงหลัก (Active Actor) ภาครัฐเป็นเพียงผู้อำนวย (Facilitator) เพื่อให้เกิดการประสานงานร่วมกันของทุกภาคส่วน โดยผ่านกระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Democracy) ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยเป็นหน่วยงานทางปกครอง ที่เหมาะสมในการจัดรูปแบบตามแนวคิดการบริหารปกครอง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.W. Wilson, “The study of administration”, Classics of Public Administration, Wadsworth, Cengage Learning, 2007.
2.M. Weber, “Bureaucracy”, Classics of Public Administration, Wadsworth, Cengage Learning, 2007, pp. 43 - 48.
3.A. V. Thompson, “Modern Organization”, New York, Alfred A. Knopt, 1961.
4.L. Gulick, “Note on the Theory of Organization”, Classics of Public Administration, Wadsworth, Cengage Learning, 2007, pp. 79-87.
5.B. Bowornwathana, “Minnowbrook IV in 2028: From American Minnowbrook to Global Minnowbrook”, Public Administration Review, Vol.70, Dec. 2010, pp. 64-68.
6.G. Frederickson, “Toward a New Public Administration”, Classics of Public Administration, Wadsworth, Cengage Learning, 2007, pp. 296–307.
7.C. Stivers, “Active Citizenship and Public Administration”, Refunding Public Administration, California, Sage Publication, 1990, pp. 246–273.
8.อัมพร ธำรงลักษณ์, “การบริหารปกครองสาธารณะ (Public Governance): การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21”, กรุงเทพฯ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
9.C. Hood, “A Public Management for All Season?”, Public Administration, Vol. 69, No. 1, Mar. 1991, pp. 3-19.
10.V. J. Denhardt and B. R. Dendardt, “The New Public Service: Serving, Not Steering”, New York and London, M.E. Sharpe, 2007.
11.M. Barzelay and J. B. Armajani, “Breaking through Bureaucracy”, Public Policy: An Introduction to the Theory and Practice of Policy Analysis, Cambridge: University Press, 1995, pp. 491-513.
12.พัชรี สิโรรส, “การศึกษาการจัดการปกครองในมิตินโยบายศึกษา: ทำความเข้าใจการจัดการปกครอง (Governance) เครือข่ายของการจัดการปกครอง (Governance Network) และอภิเครือข่ายการจัดการปกครอง (Meta-governance)”, ในเปิดกล่องนโยบายสาธารณะ: หลากมุมมองในการศึกษานโยบายสาธารณะร่วมสมัย, กรุงเทพฯ, มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและการพัฒนา, 2558.
13.P. S. Osborne, “Introduction the (New) Public Governance: a suitable case for treatment?”, The New Public Governance: Emerging Perspectives on the Theory and Practice of Public Governance, London and New York, Routledge, 2010, pp. 1-16.
14.C. Pollitt, “The Essential Public Manager”, Maisenhead Philadelphia, Open University Press, 2003.
15.K. Emerson, N. Tina and B. Stephen, “An Integrative Framework for Collaborative Governance”, Public Administration Research Theory, Vol. 22, No. 1, 2012, pp. 1-29.
16.C. Ansell and A. Gash, “Collaborative Governance in Theory and Practice”, In Journal of Public Administration Research and Theory, Vol. 18, No. 4, 2008, pp. 543-571.
17.สถาบันพระปกเกล้า, “การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาและงบประมาณสำหรับท้องถิ่น”, กรุงเทพฯ, 2556.
18.F. Frank, “Professional expertise in a deliberative democracy: facilitating participatory inquiry”, PEGS: the Good Society, Vol. 13, No. 1, 2004, pp.21-28.
19.โกวิทย์ พวงงาม, “การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนด้านการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญ”, กรุงเทพฯ, มิสเตอร์ก็อบปี้, 2550.