การบริหารเมือง: นโยบายการพัฒนาและอนุรักษ์เมือง

Main Article Content

มูนีเราะฮ์ ยีดำ
ชนิกานต์ ผลเจริญ
พิชิตชัย กิ่งพวง

บทคัดย่อ

เมืองเป็นพื้นที่สำคัญกับการคงอยู่ของรัฐนับตั้งแต่มนุษย์เข้ามาอยู่ภายในสังคมและภายใต้การปกครองของรัฐ ปัจจุบัน รัฐมีส่วนสำคัญต่อเมืองในแง่ของการวางแผน การกำหนด การบริหาร และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่เมือง บทความวิชาการชิ้นนี้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเมืองและทบทวนแนวทางการบริหารเมืองที่อยู่บนพื้นฐานแนวทางสำคัญสองแนวทางได้แก่แนวนโยบายการพัฒนาและแนวนโยบายการอนุรักษ์เมือง การบริหารเมืองทั้งสองแนวทางนี้นำไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่จริงซึ่งส่งกระทบต่อพลเมืองที่อาศัยในเมืองที่แตกต่างกัน และที่สำคัญที่สุดการบริหารเมืองและแนวนโยบายเมืองของรัฐดังกล่าวมีย้อนกลับไปส่งผลต่อภาครัฐในรูปแบบของปัญหาและความต้องการแก้ไขอย่างเร่งด่วน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1.ปรานอม ตันสุขานันท์, “การอนุรักษ์ชุมชนเมือง (Urban conservation)”, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า. 18.
2.M. Middleton, “Man Made the Town”, London, The Bodley Head, 1987, p. 17.
3.S. Kostof, “The City Shaped: Urban Patterns and Meaning Though History”, Thames and Hudson, London, 1999, p. 37.
4.P. J. Rimmer and H. Dick, “The city in Southeast Asia: patterns, processes and policy, Singapore, NUS Press, 2009.
5.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.
6.J. M. Levy, “Contemporary Urban Planning”, New Jersey, Prentice Hall, Englewood Cliff, (3d ed.), 1994p. 1.
7.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 128.
8.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 16-18
9.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 18.
10.กรมโยธาธิการและผังเมือง, “อำนาจหน้าที่ของกรมและส่วนราชการกรมโยธาธิการและผังเมือง”, สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2559, สืบค้นจาก http://www.dpt.go.th/index.php?option =com_flexicontent&view=items&cid=2&id=232&Itemid=106.
11.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 51-62.
12.สำนักผังประเทศและภาค, “ความสำคัญของการวางและจัดทำผังภาค”, สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2559, สืบค้นจากhttp://www.dpt.go.th/ nrp/index.php?option=com_content&view= article&id=54&Itemid=40.
13.J. M. Levy, “Contemporary Urban Planning”, New Jersey, Prentice Hall, Englewood Cliff, (3d ed.), 1994, p. 96-100.
14.สิทธิพร ภิรมย์รื่น, “กฎหมายและการบริหาร ผังเมืองของท้องถิ่นในสหรัฐอเมริกา”, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 2543.
15.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 147-150.
16.ปรานอม ตันสุขานันท์, “การอนุรักษ์ชุมชนเมือง (Urban conservation)”, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559.
17.P. J. Larkham, “Conservation of historic building in Thailand” Manusaya Journal of Humanities, 1(2), 1996, p. 47-71.
18.G. J. Askew, “Heritage Planning”, The Netherlands, Geo Pers, 1991.
19.ดุษฎี ท้ายตะคุ, “กลยุทธ์ในการอนุรักษ์พัฒนาศูนย์กลางเมืองในนครประวัติศาตร์”, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์,ปีที่ 9. ฉบับที่ 9, 2549, หน้า. 231-248.
20.D. Thaitakoo, “Balanced Conservation in Town Centres of Historic Cities: The Case of Ayutthaya, Thailand”, a PhD thesis, School of the Built Environment, Oxford Brookes University, Oxford, UK, 2004.
21.D. Thaitakoo, “Phuket: urban conservation vs tourism”, in Cultural Identity and Urban Change in Southeast Asia, (eds, M. Askew and L. Williams), Deakin University Press, Geelong, Australia, 1994.
22.ดำรงศักดิ์ จันโททัย, “การบริหารชุมชนเมือง (Urban administration)”, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547, หน้า. 155.