บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม ตำบลเชียงกลม อำเภอปากชม จังหวัดเลย

Authors

  • พระพชรพล วิถีธรรม สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • เสาวภา สุขประเสริฐ สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • พรสวรรค์ ศิริกัญจนาภรณ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

Keywords:

บทบาทพระสงฆ์, การพัฒนาสังคม, the monk's roles, social development

Abstract

         The purposes of this research were  1) to study the people’ expectation level in Chiengklom Sub-district, Pakchom District, Loei Province, on the monk’s role in social development, 2) to compare the monk’s expected role in social development, and  3) to explore the recommendations for the monk’s roles in social development. The research findings found that :  

         1. The monk’s expected roles in social development was clearly found in overall aspect at a high level.  The highest mean found was  the moral and culture.  It was followed by the welfare education, fellowship. Furthermore,  the monk’s actual roles in social development was evidently found in overall aspect at a moderate level.The highest mean was the hygiene, then followed by the peacefulness, fellowship respectively.        

         2. The expected roles were higher than the actual roles with the statistical significance at .05 level.

         3. The recommendations for the monk’s roles in social development were as follows. The Dharma practice for mental development. The monks should support the exercise in the community. The monks should be the people’s mental supporters.

 

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคาดหวังของประชาชนในเขตตำบลเชียงกลม อำเภอปากชม จังหวัดเลย ที่มีต่อบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทที่คาดหวังกับบทบาทที่เป็นจริงของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม และ 3) เพื่อค้นหาข้อเสนอบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้

         1. บทบาทที่คาดหวังของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อที่ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านศีลธรรมและวัฒนธรรม รองลงมาคือด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านสามัคคีธรรม ส่วนบทบาทที่เป็นจริงของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ข้อที่ค่าเฉลี่ยสูงสุดถึงต่ำสุด คือด้านสุขภาพอนามัย ด้านสันติสุข และด้านสามัคคีธรรม ตามลำดับ

         2. บทบาทที่คาดหวังมากกว่าบทบาทที่เป็นจริง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

         3. ข้อเสนอบทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม ดังนี้ พระสงฆ์ควรจัดให้มีการปฏิบัติธรรมพัฒนาจิต พระสงฆ์ควรสนับสนุนการออกกำลังกายในชุมชน พระสงฆ์ควรเป็นที่พึ่งทางใจให้แก่ประชาชนและคอยให้คำปรึกษาในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่า

 

Downloads

Published

2019-08-07

Issue

Section

Thesis article