การระงับข้อพิพาทภาษีซ้อนระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียน

Authors

  • สุวณัญฐ์ ไม้สูงดี นักศึกษา หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีนิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Keywords:

อนุสัญญาภาษีซ้อน, การระงับข้อพิพาททางภาษีอากร, องค์กรเสมือนอนุญาโตตุลาการ, องค์กรเสมือนตุลาการ, double taxation convention, tax dispute settlement, quasi – arbitration, quasi–judicial body

Abstract

          สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียนได้ประกาศจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนขึ้นใน พ.ศ. 2558 เพื่อความมุ่งหมายที่จะให้มีการเคลื่อนย้ายทุน แรงงานมีฝีมือ บริการและคนโดยเสรี และจากสภาวการณ์ที่มีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีอันเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะส่งเสริมให้มีการลงทุนโดยตรงในระหว่างรัฐสมาชิกและจากต่างประเทศมายังภูมิภาคอาเซียน ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวย่อมอาจมีผลต่อการจัดเก็บภาษีที่ซ้ำซ้อนจากผู้มีถิ่นที่อยู่ในอาเซียน  ในระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียนด้วยกันเองขึ้นได้ ซึ่งหนึ่งในมาตรการที่จะทำให้สัมฤทธิ์ผลในทางป้องกันภาษีซ้อนและการหลีกเลี่ยงการจัดเก็บภาษีซ้ำซ้อนคือ การมีมาตรการหรือกลไกในการระงับข้อพิพาทภาษีซ้อนในระหว่างรัฐสมาชิกอาเซียนที่มีประสิทธิภาพ

 

          The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) has announced the establishment of the ASEAN Economic Community in- 2015 with the aim of free movement which is one of the factors promoting direct investment between the Member States and overseas to the ASEAN region.  According to such circumstance, it that may affect the double of taxation collected on the hands of residents among ASEAN Member States. One of the measures to achieve the avoidance of double taxation is to provide of the effective measures or mechanisms for the settlement of double taxation among ASEAN Member States.

Downloads

Published

2018-08-17