เสียงกับงานมัลติมีเดีย

Authors

  • ประดิษฐ์ แสงไกร Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

งานมัลติมีเดีย, เสียง

Abstract

โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์มักจะรับรู้ข้อมูลหลังจากการประมวลผลเมื่อใช้ คอมพิวเตอร์ผ่านทางจอแสดงผล  ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์ตัวอักษรหรือการคลิกเมาส์เรา จะเห็นได้ว่า การรับรู้ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวมักจะเป็นการรับรู้ผ่านการมองเห็นแทบทั้งสิ้น แต่เมื่อเปรียบเทียบ กับการใช้ชีวิตประจำวันยังมีอีกส่วนหนึ่งที่เรารับรู้ควบคู่ไปกับการมองเห็น นั่นก็คือการได้ยิน ดังนั้นในการ ออกแบบสื่อมัลติมีเดียต่างๆ เราจะพบเห็นการให้ความสำคัญกับเสียงในน้ำหนักที่เท่ากันกับภาพ โดยเฉพาะ งานด้านวิดีโอเกม เพราะผู้ออกแบบวิดีโอเกมเล็งเห็นถึงความสำคัญในการสร้างความสมจริงให้กับผู้เล่น เราจึงเห็นได้ว่า วิดีโอเกมในปัจจุบันได้มีการกำหนดข้อจำกัดในส่วนของฮาร์ดแวร์ต่างๆ รวมถึงการ์ดเสียงใน คอมพิวเตอร์เพื่อรองรับความต้องการนั้นๆด้วยเช่นกัน ไม่เพียงเท่านั้น สถาปนิก มัณฑนากร นักออกแบบเวที นักสังคมวิทยา นักดนตรีและศิลปินที่ทำงานเกี่ยวกับเสียง จึงต้องรู้และเข้าใจบทบาทของเสียงที่มีต่อสัมผัส การรับรู้ของมนุษย์และผลของปัจจัยภายนอกที่มีต่อเสียงดังกล่าว

References

1. Noble J. 2009. Programming Interactivity : A Designer's Guide to Processing, Arduino and openFramworks. Sepastopol, CA. : O'Reilly Media Inc.

Downloads

Published

07.08.2018

How to Cite

แสงไกร ประดิษฐ์. 2018. “เสียงกับงานมัลติมีเดีย”. Rangsit Music Journal 5 (2):38-41. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/138866.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article