JAZZ STRUCTURE

Authors

  • เด่น อยู่ประเสริฐ, ดร. Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

STRUCTURE, JAZZ

Abstract

การแสดงดนตรีแจ๊สส่วนใหญ่จะถูกควบคุมด้วยโครงสร้างที่เข้มงวด แต่โครงสร้างนี้ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการเล่น หากแต่เป็นสิ่งที่ได้ถูกจัดเตรียมไว้ เป็นเหมือนข้อตกลงร่วมกันระหว่าง ผู้เล่น หรือกฎกติกาที่อนุญาตให้นักดนตรีมารวมตัวกันเล่นดนตรีแจ๊ส เป็นกรอบสําหรับการสื่อสาร โครงสร้างของดนตรีแจ๊สจึงเป็นมากกว่าสิ่งที่ถูกกําหนดให้เล่นตามทํานองหรือกุญแจเสียง โครงสร้างของดนตรีแจ๊สมีส่วนประกอบสําคัญหลักสามส่วน คือ (1) จังหวะ (2) สังคีตลักษณ์ และ (3) เสียงประสาน จังหวะควบคุมความสัมพันธ์ของเครื่องดนตรีต่างๆให้ดําเนินไปด้วยกัน สังคีตลักษณ์ในดนตรีแจ๊สโดยมากจะใช้สังคีตลักษณ์ของเพลงสมัยนิยม ซึ่งเป็นแบบแผนและโครงสร้างเล็กๆที่คาดการณ์ หรือติดตาม ได้ไม่ยากนัก ส่วนเสียงประสานถูกควบคุมโดยการดําเนินคอร์ดชนิดต่างๆ การดําเนินคอร์ดนี้ รวมถึงคอร์ด แต่ละชนิดในดนตรีแจ๊ส มักจะมีการแปลงหลากหลายรูปแบบ และมีความซับซ้อนในเชิงเสียงประสาน ซึ่งเป็นสิ่งที่นักดนตรีแจ๊สต้องพบอยู่เสมอในการแสดง ในบทความนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง โครงสร้างของดนตรีแจ๊สในส่วนของจังหวะ และสังคีตลักษณ์เท่านั้น

References

1. ณัชชา พันธุ์เจริญ. (2551). การเขียนเสียงประสานสี่แนว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์เกศกะรัต
2._____. (2552). ทฤษฎีดนตรี. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์เกศกะรัต
3. _____. (2552), พจนานุกรมศัพท์ดุริยางคศิลป์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์เกศกะรัต
4. _____. (2551), สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพ: สํานักพิมพ์เกศกะรัต
5. David, Norman. (1998). Jazz Arranging. New York: Ardsley House Publishers.
6. Dobbins, Bill.(1986), Jazz Arranging and Composing: A Linear Approach, Germany: Advance Music.
7. Felts, Randy. (2002), Reharmonization Techniques. Boston: Berklee Press.
8. Levine, Mark. (1995), The Jazz Theory Book. Petaluma, CA: Sher Music.
9. Lowell, Dick and Ken Pullig (2003), Arranging for Large Jazz Ensemble. Boston: Berklee Press.
10. Pease, Ted. (2003), Jazz Composition: Theory and Practice. Boston: Berklee Press.
11. Pease, Ted and Ken Pullig (2001). Modern Jazz Voicings: Arranging for Small and Medium Ensembles. Boston: Berklee Press.
12. Rinzler, Paul. (1989). JaZZ Arranging and Performance Practice: A Guide for Small Ensemble. London: Scarecrow Press, 1989.
13. Sher, Chuck, ed. (1998). The New Real Book Volume 1. Petaluma, CA: Sher Music, (1991)
14. _____. The New Real Book Volume 2. Petaluma, CA: Sher Music.
15. _____. (1995). The New Real Book Volume 3. Petaluma, CA: Sher Music.

Downloads

Published

07.08.2018

How to Cite

อยู่ประเสริฐ เด่น. 2018. “JAZZ STRUCTURE”. Rangsit Music Journal 5 (1):31-42. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/138885.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article