ตํานาน ปีพาทย์มอญ" เมืองปทุมธานี

Authors

  • สมเกียรติ หอมยก Conservatory of Music, Rangsit University

Keywords:

ปีพาทย์มอญ

Abstract

ปี่พาทย์มอญเมืองปทุมธานี มีตํานานที่กล่าวถึงกันมายาวนานจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์สามารถแบ่งการอพยพเข้ามาของชนชาติมอญใน จังหวัดปทุมธานีได้ดังนี้ 1) สมัยกรุงศรีอยุธยา 2) สมัยกรุงธนบุรี 3) สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

References

1. กลิ่น ดนตรีเจริญ, 23 พฤศจิกายน 2543. นักดนตรีมอญ ทายาทตระกูลดนตรีเจริญ. สัมภาษณ์.
2. เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี, 8 กุมภาพันธ์ 2548. นักวิชาการและนักดนตรี, สัมภาษณ์.
3. ทองคํา พันนัทธี. (2524), ปทุมธานีในอดีต. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฑารัตน์การพิมพ์
4. _____. (2538), ปทุมธานีท้องถิ่นของเรา. ปทุมธานี : โรงพิมพ์ พ. พริ้นติ้ง กรุ๊ป จํากัด.
5. เทียมจันทร์ อําแหวว. 1 สิงหาคม 2548. อาจารย์ประจําภาควิชาประวัติศาสตร์ สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์, สัมภาษณ์.
6. พิสัณฑ์ ปลัดสิงห์. (2530), คนมอญ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ด่านสุธาการพิมพ์.
7. ศูนย์วัฒนธรรมประจําจังหวัดปทุมธานี (2525), สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี จังหวัดปทุมธานี, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง.
8. สุจริตลักษณ์ ดีผดุง และคณะ (2528), มอญ : บทบาทด้านสังคม วัฒนธรรมความเป็นมา และความเปลี่ยนแปลงในรอบ 200 ปี ของกรุงรัตนโกสินทร์, งานวิจัยสถาบัน วิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม.
9. สาคร ปาณะลักษณ์, 19 สิงหาคม 2548. นักดนตรีมอญทายาทตระกูลดนตรีเจริญ สัมภาษณ์, กรมศิลปากร. สัมภาษณ์.
10. สมผล ดนตรีเจริญ, 21 มีนาคม 2546. ทายาทตระกูลดนตรีเจริญ: สัมภาษณ์.
11. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ, เอกสารรัชกาลที่ 6 น. 17.3/36. "ขอเงินค่าพิณพาทย์มอญ ในคราวงานพระ บรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง"

Downloads

Published

08.08.2018

How to Cite

หอมยก สมเกียรติ. 2018. “ตํานาน ปีพาทย์มอญ" เมืองปทุมธานี”. Rangsit Music Journal 1 (2):35-40. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/139117.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article