ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์

Main Article Content

กิจปพน ศรีธานี1
สุรัตนา เหล่าไชย2
ปภาวี รัตนธรรม3
นภาพร พงษ์วิชัย4
จิรารัตน์ เครือศรี5
จุฬารัตน์ กันยาสุด6
ใบเฟิร์น จันทร7

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิ
ใบไม้ตับของประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธ์แุ ละ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ เจตคติและพฤตกิ รรม
การป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 317
ครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 175 คน ได้จากการสุ่มอย่างมีระบบโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจากครัวเรือนละ 1 คน เก็บข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถามในช่วง เดือนมกราคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์หาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า
กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่ในระดับปานกลาง มีเจตคติต่อการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่
ในระดับดี มีพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่ในระดับปานกลาง ระดับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับมีความ
สัมพันธ์กับเจตคติต่อการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับโดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ในระดับปานกลาง (rs=0.387) อย่างมีนัย
สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานสาธารณสุขในระดับชุมชน และองค์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่นว่าควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับให้มากขึ้นและจัดหา
กิจกรรมหรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับเจตคติที่ถูกต้องซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะยาว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Prompolmuang, Kittipong and Ketsomboon
Pattapong. (2014). Risk factors for Opisthorchiasis
in Si Bun Rueang District, Nong Bua Lam Phu
Province, Thailand. Community Health
Development Quarterly Khon Kaen University.
2(1):53-62.
[2] Bureau of General Communicable Diseases,
Department of Disease Control, Ministry of Public
Health. (2014). To Prevent Liver Fluke to Reduce
the Risk of Cholangiocarcinoma. [26 April 2015]
http://thaigcd.ddc.moph.go.th
[3] Department of Disease Control. (2009). Medical
Helminthology. Ministry of Public Health : The
Agricultural Cooperative Federation of Thailand
Limited.
[4] Bureau of Epidemiology, Department of Disease
Control, Ministry of Public Health. (2014). Liver
Fluke. [26 April 2015] http://thaigcd.ddc.moph.
go.th
[5] Pattanarat, Praepet. (2012). Result of Behavior
Consumption Promotion for Liver Fluke
Prevention of the People in Yangtalad District,
Kalasin Province. Master of Public Health Thesis.Burapha University.
[6] Kanngeun, Kanokwan et al. (2011). Knowledge,
Attitude, and Eating Raw Fish Behavior Level of
People in Poe Sub-district, Muang Srisaket.
Sriwanalaivijai. 1(2) : 76-87.
[7] Reunkham, Watcharapong. (2012). Epidemiology
Of Liver Fluke in Kog River Basin Muang
Chiangrai. [27 April2015]. http://www.hs.crru.ac.th.
[8] Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining
Sample Size for Research Activities. Educational
and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.
District, Sakon nakhon Province.
[9] Chirawatkul, Aroon. (2013). Statistics for
HealthScience Research. Bangkok : Wittayapat.
[10] Zimbardo, P.G. (1997). Influencing Attitude and
Behavior. (2nd ed.). California : Addison Wesley
Publishing Co.
[11] Chankeuw, Wipawan. (2013). Consumption
Behavior of the Risk Group for Liver Fluke in
Khamsa-ard Sub-district, Sawangdandin District,
Sakon nakhon Province. Khamsa-ard Sub-district
Health Promotion Hospital, Sawangdandin
[12] Chantakheumbong, Thanakon et al.(2014).
Result of the Application of Health Belief Model
and Participatory Learning Process on Behavior
Modification for the Prevention of Liver Fluke.
Journal of Health Science, 22(5) : 822-831.