การขยายพันธุ์กล้วยไม้ป้าในเขตอีสานใต้ของไทยบางชนิดในสภาพปลอดเชื้อ

Main Article Content

นิภาวรรณ์ จิตโสภากุล
สุภาวดี ตั้งธีระวัฒนะ
พัชราภรณ์ แสงโยจารย์

Abstract

บทคัดย่อ

การเก็บรวบรวมฝักกล้วยไม้ป้าไทยในเขตอีสานใต้ เพื่อใซ้ในการขยายพันธุในสภาพปลอดเชื้อ พบว่า สามารถรวบรวมฝักกล้วยไม้ป้าไทยใต้ทั้งหมด 12 สกุล 26 ชนิด จากจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี เมื่อทำการศึกษาผลของอาหารแข็งสูตร MS (1962) และสูตร VW (1949) ความเข้มข้นของนํ้าตาลซูโครส (0 - 30 กรัมต่อลิตร) และความเข้มข้นของ BA (0 - 2 ม้ลลิกรัมต่อลิตร) ต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้ป้าไทย พบว่าเมล็ดกล้วยไม้ป้าไทยจำนวน 8 สกุล 16 ซนีด ได้แก่ มาลัยแดง กุหลาบแดง เข็มแสด ข้างกระ ไอยเรศ เขาแกะ เอื้องสามปอย สิงโต กล้ามปูใหญ่ เขากวางอ่อน เอื้องดอกมะขาม เอื้องสายผึ้ง เอื้องเงิน เอื้องคำ เอื้องเงินหลวง พวงหยก และตากาฉ่อ สามารถงอกและเจริญเป็นต้นได้เมื่อเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS และ VW ที่เติม และไม่เติมนํ้าตาลซูโครสและ BA จำนวนวันที่งอกเฉลี่ย 4-90 วัน และอัตราการงอกเฉลี่ยร้อยละ 2 - 100 เมื่อนำต้นกล้วยไม้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จำนวน 8 ซนีด ได้แก่ ข้างกระ เขาแกะ เขากวาง อ่อน เอื้องคำ เอื้องเงิน เอื้องดอกมะขาม เอื้องเงินหลวง และพวงหยก ออกปลูกในโรงเรือน พบว่า ต้นกล้วยไม้ทั้ง 8 ซนีด สามารถเจริญเติบโตได้ โดยมีอัตราการรอดชีวิตร้อยละ 100 เมื่อเลี้ยงเป็นเวลา 2 เดือน

คำสำคัญ : กล้วยไม้ป้าไทย, การขยายพันธุ์, การงอกของเมล็ด, การเพาะเมล็ดกล้วยไม้

 

Abstract

A total of 12 genera and 26 species of Thai wild orchids in Lower — Northeast area of Thailand were collected from Nakhon Ratchasima, Surin, Buri Ram, Sisaket and Ubon ratchathani Province for micropropagation. The effects of solid media, (Murashige and Skoog 1962 (MS) and Vacin and Went 1949 (VW)), sucrose concentration (0-30 g/1) and BA concentration (0-2 mg/1) on seed germination were investigated. Result showed that seeds from 8 genera and 16 species, Aerides multi flora Roxb., Aerides crassifolia, Ascocentrum miniatum L. Schltr., Rhynchostylis gigantea, Rhyn. retusa L. Blume, Rhyn. coelestis, Vanda brunrtea Rchb.f., Bulbophyllum macranthum Lindl., Phalaenopsis cornu-cervi, Dendrobium delacourii Guill., Den. lindleyi Steud., Den. draconis Rchb.f., Den. chrysotoxum Lindl., Den. formosum Roxb. ex Lindl., Den. finlayanum and Kingidium deliciosum germinated into protocorms when seeds were cultured on MS and VW solid media supplemented with or without sucrose and BA. The germination rate was about 2 - 100% after 4-90 days of sowing. The plantlets from 8 species, Rhyn. gigantea, Rhyn. coelestis, Phalaenopsis cornu- cervi, Den. delacourii Guill., Den. draconis Rchb.f., Den. chrysotoxum Lindl., Den. formosum Roxb. ex Lindl., and Den. finlayanum which were transferred to greenhouse for 2 months displayed 100% survival.

Keyword : Thai wild orchid, Micropropagation, Seed germination, Orchid seed culture

Article Details

How to Cite
[1]
จิตโสภากุล น., ตั้งธีระวัฒนะ ส., and แสงโยจารย์ พ., “การขยายพันธุ์กล้วยไม้ป้าในเขตอีสานใต้ของไทยบางชนิดในสภาพปลอดเชื้อ”, RMUTI Journal, vol. 5, no. 2, pp. 21–32, Jan. 2014.
Section
บทความวิจัย (Research article)