ผลและปฏิสัมพันธ์ของการเลี้ยงแบบแยกเพศและการตัดก้ามต่อการ เจริญเติบโตของกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii De Man 1879) ในกระชัง Effects and Interactions of Monosex Culture and Chelipe-removal on Growth Performance of Giant Freshwater Prawns Macrobrac

Main Article Content

สมาน จงเทพ
สำเนาว์ เสาวกล
กฤติมา เสาวกุล
ปราณีต งามเสน่ห์

Abstract

บทค้ดย่อ

การศึกษาครั้งนื้มีวํแตถุประสงค์เพื่อประเมินผลและปฏิส์:มพ้นธ์ของการแยกเพศและการตัดก้าม ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii De Man 1879) ในการเลี้ยงในกระซัง ปล่อยกุ้งก้ามกรามขนาดเฉลี่ย 5.0 กรัมในกระซังที่ตั้งอยู่ในบ่อนํ้าเนื้อที่ 900 ตรม. การทดลองแบ่งเป็น6กลุ่มๆละ4ซํ้าคือ (1) กุ้งเพศผ้ตัดก้าม (2) กุ้งเพศผ้ปกติ (3) กุ้ง เพศเมียตัดก้าม (4) กุ้งเพศเมียปกติ (5) กุ้งเพศผู้+เพศเมีย (1:1) ตัดก้าม และ (6) กุ้งเพศผู้+เพศ เมียปกติ อัตราปล่อยกระซังละ 30 ตัว/ตารางเมตร เมื่อสิ้นสุดเวลาการทดลอง 4 เดือนพบว่า กลุ่ม กุ้งเพศผู้ตัดก้ามมีการเติบโตสูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) โดยมีนํ้าหนักเฉลี่ย 26.80+ 0.56 กรัม และกลุ่มที่มีนํ้าหนักรองลงมาตามสำตับได้แก่ กลุ่มกุ้งเพศผู้ปกติ กุ้งผสมทั้งสองเพศตัดก้าม กุ้งเพศเมียตัดก้าม และกุ้งเพศเมียปกติ ซี่งนํ้าหนักเฉลี่ย เท่าก้บ 25.10+0.02, 22.30+0.18, 20.75+0.13, 20.20+0.04 และ 20.05+0.08กรัม และความยาวเฉลี่ยสูงสุดของกุ้งเพศผู้ตัดก้าม เท่ากับ 16.70+0.21ซม. รองลงมาในสำตับเดียวกันเท่ากัน 16.50+0.2,14.25+0.06,14.20+0.13,13.95+0.05และ 13.30+0.06 ซม. ตามลำดํ[บ ซี่งส่งผลให้ผลผลิตโดยรวมของกุ้งกลุ่มกุ้งเพศผู้ดัดก้ามนี้ มีค่า สูงที่สุดเท่ากิ[บ 659.28+13.78 กรัม/กระซัง, รองลงมาในลำตับเดียวกัน เท่ากับ 521.82+4.21, 496.98 + 3.90, 485.55 + 08, 418.14+8.28 และ 403.01 + 1.61..กรัม/กระซัง ตามลำดับ การตัดก้ามของกุ้ง มีผลทำให้อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ (SGR) อัตราการเติบโตรายวน (DGR) และอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) มีแนวโน้มทั่วไปดีกว่ากุ้งกลุ่มที่ไม่ตัดก้าม ผลการ วิเคราะห์ย้งพบว่าปฏิสัมพ้นธ์ระหว่างการเลี้ยงแบบแยกเพศและการตัดก้าม มีผลต่อการเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และการใซํโปรตีน (PER) อย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ในกุ้งทั้งสองเพศ

คำสำคัญ : กุ้งก้ามกราม; การเลี้ยงแบบแยกเพศ; การดัดก้าม และการเลี้ยงกุ้งในกระซัง Abstract

This study was conducted to determine the effects of monosex culture and chelipe-removal in cage culture of giant freshwater prawn Macrobrachium rosenbergii. Juvenile prawns (5.0 g) were stocked in experimental cages in 900 m2 pond. Six treatments at four replicates: (1) Chelipe- removal males, (2) Normal males, (3) Chelipe-removal females, (4) Normal females, (5) Chelipe- removal mix (1:1 ratio) males and females and (6) Normal mix (1:1 ratio) prawns, each was used 30 prawns nr2 of cage bottom. Significantly highest growth (P<0.05) was achieved by the monosex culture of chelipe-removal male prawns, with the mean weight of 26.80±0.56 g at harvest, followed by normal males, chelipe-removal mixed prawns, chelipe-removal females, normal females, and normal mix prawns, with a mean weight of 25.10±0.02g and 22.30±0.18g, 20.75±0.13g, 20.20± 0.04g and 20.05±0.08g respectively. Consequently, daily growth rate (DGR) and specific growth rate (SGR), were also significantly greater for the monosex culture of chelipe-removal male prawns. Better final survivals were demonstrated by the chelipe-removal groups and FCR are also significantly improved. There were significant interactions (P<0.05) between sex and removal of chelipes on major growth performance, feed utilization and protein efficiency ratio (PER) in both male and female prawns.

Keywords : Giant freshwater prawn; Macrobrachium rosenbergii; Monosex culture; Chelipe- removal, cage culture.

Article Details

How to Cite
[1]
จงเทพ ส., เสาวกล ส., เสาวกุล ก., and งามเสน่ห์ ป., “ผลและปฏิสัมพันธ์ของการเลี้ยงแบบแยกเพศและการตัดก้ามต่อการ เจริญเติบโตของกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii De Man 1879) ในกระชัง Effects and Interactions of Monosex Culture and Chelipe-removal on Growth Performance of Giant Freshwater Prawns Macrobrac”, RMUTI Journal, vol. 3, no. 2, pp. 73–63, Jan. 2014.
Section
บทความวิจัย (Research article)