การใช้แก๊สชีวมวลกับเครื่องยนต์เล็กทางการเกษตรขนาด 9 แรงม้า The Use of Biomass Gas for 9 Hp Agricultural Small Engine

Main Article Content

ปรีชา ขันติโกมล
จิระพงษ์ กวนกระโทก
อมรทัศน์ จั่วแจ่มใส
ไมตรี พลสงคราม

Abstract

บทคัดย่อ


งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการใช้แก๊สชีวมวลกับเครื่องยนต์เล็กทางการเกษตร ซึ่งแก๊สชีวมวลที่ใช้ผลิตจากชุดเตาผลิตแก๊สชีวมวลแบบไหลลง (Downdraft Gasifier) ความจุ 0.01 m3 แบบขยายห้องพักแก๊สพร้อมระบบปรับปรุงคุณภาพแก๊สชีวมวล ใช้เครื่องยนต์หนึ่งสูบขนาด 9 แรงม้า เป็นเครื่องยนต์ทดสอบในการผลิตแก๊สชีวมวล ทำการจ่ายอากาศเข้าเตาผลิตแก๊สชีวมวลที่ 150 โดยใช้เศษชีวมวล 3 ชนิด ได้แก่ กะลามะพร้าว ไม้กระถินยักษ์ และไม้ยูคาลิปตัส ใช้ชีวมวล 3 kg ขนาดความยาว 2 - 4 cm ความชื้นไม่เกิน 25% ทำการวิเคราะห์ส่วนประกอบของแก๊สชีวมวลพบว่า แก๊สชีวมวลที่ได้มี 3 องค์ประกอบหลักๆ คือ คาร์บอนมอนออกไซด์ ไฮโดรเจน และแก๊ส ส่วนประกอบไฮโดรคาร์บอนทำการจุดติดไฟเพื่อทดสอบหาความเข้มของเปลวไฟ หลังจากนั้นนำไปใช้กับเครื่องยนต์พบว่า สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงขับเครื่องยนต์เล็กได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม จำเป็นต้องทำการกรองแก๊สให้สะอาดก่อน ซึ่งพบว่าไอนํ้า นํ้ามันดิน นํ้าส้มควันไม้ มีการเกาะจับที่ชิ้นส่วนเครื่องยนต์


Abstract


This research is to study the use of biomass gas for an agricultural small engine.
The biomass gas has been produced using the small downdraft gasifier having volume 0.01 m3 with the extension gas room. The equipment also includes the biomass gas improvement system. The 9 Hp engine was examined. In the experiment, the air in the range of 150 is supplied into the system. Three types of biomass, which were Eucalyptus, Coconut shell and Acacia giant, have been employed. Each of 3 kg and 2 - 4 cm size of biomass with 25% humidity was tested. In biomass gasanalysis, the gas components were CO H2 and CxHx. The intensity of biomass gas was tested by burning. It illustrated that this biomass could be used to run the engine. However, the biomass gas has to percolate the contaminants e.g. water vapor tar wood vinegar. It was also found the contaminant attached to the engine parts.

Article Details

How to Cite
[1]
ขันติโกมล ป., กวนกระโทก จ., จั่วแจ่มใส อ., and พลสงคราม ไ., “การใช้แก๊สชีวมวลกับเครื่องยนต์เล็กทางการเกษตรขนาด 9 แรงม้า The Use of Biomass Gas for 9 Hp Agricultural Small Engine”, RMUTI Journal, vol. 8, no. 2, pp. 1–11, Sep. 2015.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biographies

ปรีชา ขันติโกมล

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

จิระพงษ์ กวนกระโทก

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

อมรทัศน์ จั่วแจ่มใส

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

ไมตรี พลสงคราม

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

References

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร. (2556). เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงจากเศษไม.  เขาถึงเมื่อ
5 กมภาพันธ์ 2557 เข้าถึงได้จาก (http://www.dpim.go.th/recycling/article?catid=228&
articleid=3502)

กฤษฎา หนูมนต์, ดาริอินทะโชติ, กิตติ ปานแสงทอง, พัลลภ มณฑาลพ, ทรงกรด ศรีจันทร์,
ดาหริไตรรักษ์. (2554). เตาเผาแก๊สซิไฟเออร์ . วิทยานิพนธ์ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
สาขาวิชาเครื่องกล สาขางานเทคนิคยานยนต์ : วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค).

Eggen, A. C. W. and Kraatz, R. (1976). Gasification of Solid Waste in Fixed Beds.
Mechanical Engineering. Vol. 24. pp. 13-19.

SERI, Golden, Colorado. (1979). Solar Energy Research Institute (SERI) Generator
Gas - The Swedish Experience. pp. 1939-1945, Chap1.

Heywood, B. J. (1988). Internal combustion engine fundamentals. McGraw - Hill, Singapore

Kislov V. M., Glazov S. V., Chervonnaya N. A., Patronova L. I., Salganskaya M. V. and
Manelis G. B. (2008). Biomass gasification under combustion conditions with
superadiabatic heating. Solid Fuel Chemistry. Vol. 42. No. 3. pp.135-139

Krushna Patil, Prakash Bhoi, Raymond Huhnke and Danielle Bellmer. (2011). Biomass
downdraft gasifier with internal cyclonic combustion chamber : Design,
construction, and experimental results. Bioresource Technology. Vol. 102.
Issue 10. pp. 6286-6290

MitZalff., Von, K., (1988). Engine for biogas. Theory, modification, econum, operation,
Federal Republic of Garmany

Suppawit Lawanaskol. (2006). Charcoal Gasifier Engine for Power Generation. Mechanical
Engineering.

Taveesin Lekpradit, Siripol Tongorn, Nimit Nipattummakul and Somrat Kerdsuwan.
(2008). Study on Advanced Injection Timing on a Dual-Fuel Diesel Engine with
Producer Gas from a Down-Draft Gasifier for Power Generation, Journal of
Metals, Materials and Minerals. Vol. 18. No. 2. pp. 169-173

Tushar Srivastava. (2013). Renewable Energy (Gasification). Vol. 3. Num. 9. pp. 1243-1250