การศึกษารูปแบบช่องเปิดเพื่อนำแสงธรรมชาติมาใช้กับโบราณสถานแบบหลุมขุดค้นโบราณสถานโนนเมือง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น A Study of Enhance the Natural Light to the Open Fields, and Ancient Pit Excavation. Nonmuang Ancient City Chumphae District Konkaen Provinc

Main Article Content

สุพจน์ ชยนิธิวุฒิ
ศุทธา ศรีเผด็จ

Abstract

บทคัดย่อ


การศึกษาการนำแสงธรรมชาติมาใช้กับอาคารโบราณสถานแบบขุดค้น มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการปรับปรุงรูปแบบและขนาดของช่องเปิดด้านบน โดยนำแสงธรรมชาติเข้ามาภายในอาคารที่เหมาะสมกับโบราณสถาน ประเภทจัดแสดงหลุมขุดค้นกลางแจ้ง คำนึงถึงค่าความส่องสว่าง อ้างอิงค่ามาตรฐาน ในการออกแบบแสงสว่าง พร้อมเสนอแนวทางในการปรับปรุงการออกแบบแสงสว่างภายในอาคารหลุมขุดค้นการวิเคราะห์ผลกรณีการเปิดช่องแสงด้านบนหลังคาแบบขนาดใหญ่เดิม ไม่เหมาะสมคือแสงมีความจ้า ไม่สบายตาทางการมองเห็น และเป็นการทำลายวัตถุโบราณจากรังสีอุตราไวโอเลตได้ เนื่องจากให้แสงสว่างมากเกินไป กรณีเปรียบเทียบรูปแบบจำลองช่องเปิดด้านบน จำนวน 3 รูปแบบ คือ
เปิดช่องเปิดด้านบนร้อยละ 5, 10 และ 15 พบว่ารูปแบบช่องเปิดด้านบนร้อยละ 5 แบบ 4 ช่องเปิด
มีค่าความส่องสว่างที่เหมาะสมที่สุด มีค่าความส่องสว่างเฉลี่ยใกล้เคียงกับค่าระดับความส่องสว่าง ตามมาตรฐานสมาคมแสงสว่างแห่งประเทศไทย (ราชกิจจานุเบกษา, 2537) คือ 300 - 400 ลักซ์ และ
พบว่ารูปแบบช่องเปิดด้านบนแบบ 4 ช่องเปิดนี้ สามารถปรับใช้กับอาคารทิศทางต่างๆ ได้ โดยค่าระดับ
ความส่องสว่างไม่เปลี่ยนแปลง เป็นแนวทางในการออกแบบและปรับปรุงอาคารอื่นๆ ประเภทเดียวกัน


Abstract


The utilization of Natural Lighting in Archaeological Excavation site could be orientation for improvement “Open Fields”. Furthermore size of the open fields was studied with archaeological excavation site museum and collection. The interested archaeological this ancient town was open air performance. Therefore natural lighting was designed with standard to standard of illuminating engineering association of thailand. Include development lighting system in excavation site museum. All above could be guidelines for designed another building. According to the research comparison 3 patterns, we set up the duplicate building and found out 4 open fields type was the most perfectly Illuminance. Furthermore the experiment shown average of illuminace similar to standard of illuminating engineering association of Thailand. In the other hand the large open fields increase the over lighting, there was not appropriate ndoor.
Finally the disperse open fields was more advantage.

Article Details

How to Cite
[1]
ชยนิธิวุฒิ ส. and ศรีเผด็จ ศ., “การศึกษารูปแบบช่องเปิดเพื่อนำแสงธรรมชาติมาใช้กับโบราณสถานแบบหลุมขุดค้นโบราณสถานโนนเมือง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น A Study of Enhance the Natural Light to the Open Fields, and Ancient Pit Excavation. Nonmuang Ancient City Chumphae District Konkaen Provinc”, RMUTI Journal, vol. 8, no. 2, pp. 61–78, Sep. 2015.
Section
บทความวิจัย (Research article)
Author Biographies

สุพจน์ ชยนิธิวุฒิ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ศุทธา ศรีเผด็จ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

References

กฤชกนก สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2459). แสงสว่างจากธรรมชาติ. แสงธรรมชาติในอาคาร. กรุงเทพมหานคร

กฏกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522.
(13 มิถุนายน 2537). ราขกิจจานุเบกษา. ตอนที่ 23ก.

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2542-2544). โครงการจัดทำเเผนที่ศักยภาพพลังงาน
แสงอาทิตย์จากข้อมูลดาวเทียมสำหรับประเทศไทย. เข้าถึงเมื่อ 23 มีนาคม 2556. เข้าถึงได้จาก
(http;/ /www4.dede go.th/ dede/images /stories /bsed /project /2546 / daylight_
46_edit pdf)

เบญจพร ศักดิ์เรืองแมน. (2543). การปรับปรุงการใช้เเสงธรรมชาตี้ในอาคารพิพิธภัณฑ์จันเสน. วิทยานิพนธ์
หลักสูตรปริญญาสถาปีตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชำนาญ ห่อเกียรติ. (2540). เทคนิคการส่องสว่าง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ธวัชชัย ชยาวนิช. (2554). มารู้จักเเสงธรรมชาติกัน : บทความน่ารู้ในแวดวงวิศวกรรม. เข้าถึงเมื่อ
13 เมษายน 2556. เข้าถึงได้จาก (http:/ /digital. lib.kmutt.ac.th/magazine/issue4/
articles/article4.htm)