การเปรียบเทียบวิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอม (Comparison Method of Compressing Shiitake Mushroom Cube)

Main Article Content

ปรเมศวร์ สุทธิประภา
ทยาวีร์ หนูบุญ
พลเทพ เวงสูงเนิน
พีรณัฐ อันสุรีย์
วิรัตน์ หวังเขื่อนกลาง
ธวัชชัย จารุวงศ์วิทยา

Abstract

บทคัดย่อ


งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของวิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอมและเพื่อศึกษาความดัน
ที่เหมาะสมของการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอมด้วยระบบไฮดรอลิกส์ โดยใช้หลักทางสถิติอธิบายผล และทดสอบ
สมมติฐาน เพื่อเปรียบเทียบความหนาแน่นของก้อนเชื้อเห็ดหอมที่ได้จากวิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ด 3 วิธี คือ
วิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอมด้วยระบบไฮดรอลิกส์ที่ความดัน 4 ระดับ ได้แก่ 50 60 70 และ
80 กก./ซม.2 ตามลำดับ วิธีการอัดด้วยแรงงานคนและวิธีการอัดด้วยเครื่องอัดที่เกษตรกรใช้ ผลการศึกษา
พบว่าวิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอมที่ดีที่สุด คือ การอัดด้วยแรงงานคน การอัดด้วยระบบไฮดรอลิกส์ และ
การอัดด้วยเครื่องอัดที่เกษตรกรใช้ ตามลำดับ สำหรับความดันที่เหมาะสมที่สุดของการอัดด้วยระบบ
ไฮดรอลิกส์ คือ 80 กก./ซม.2 มีความหนาแน่น 0.621 กรัม/ซม.3 และวิธีการอัดด้วยแรงงานคนและ
วิธีการอัดด้วยเครื่องอัดที่เกษตรกรใช้ มีความหนาแน่น 0.631 และ 0.469 กรัม/ซม.3 ซึ่งเครื่องอัดก้อน
เชื้อเห็ดหอมด้วยระบบไฮดรอลิกส์มีอัตราการอัดก้อนเชื้อเห็ดเฉลี่ย 4 ก้อนต่อนาที จากการทดสอบ
สมมติฐานพบว่า ความหนาแน่นของก้อนเชื้อเห็ดหอมที่อัดด้วยระบบไฮดรอลิกส์ที่ระดับความดัน
80 กก./ซม.2 และวิธีการอัดด้วยแรงงานคนมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05)
แต่มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) กับวิธีการอัดด้วยเครื่องอัดที่เกษตรกรใช้ และ
ระยะเวลาคืนทุนของการใช้เครื่องอัดก้อนเชื้อเห็ดหอมด้วยระบบไฮดรอลิกส์ คือ 2 เดือน


Abstract


The objectives of this work are to compare effect of method of compressing Shiitake
mushroom cube and to study optimum pressure of compressing Shiitake mushroom
cube by hydraulics system using the descriptive statistics and hypothesis testing.
To compare density of Shiitake mushroom cube from 3 compressing methods of mushroom
cube including compressing method of mushroom cube by hydraulics system that
the pressure was divided in 4 levels consisting of 50, 60, 70 and 80 kg/cm2.
Compressing method of mushroom cube by worker and compress machine were
used by agriculturist. The results were found that, the best of compressing method
of mushroom cube are the work compressed by worker, hydraulics system and
compression machine used by agriculturist. The optimum pressure of hydraulics
system is80 kg/cm2, density of 0.621 g/cm3. Compressing method of mushroom
cube by worker and compress machine used by agriculturist are density of 0.631
and 0.469 g/cm3. The compressing method of mushroom cube by hydraulics
system rates are 4 cubes/minute. From hypothesis testing, compressing method
of mushroom cube by hydraulics system at pressure level is 80 kg/cm2 and worker
that are not statistically significant (P<0.05), but it is statistically significant (P>0.05)
with compressing method of mushroom cube by compression machine used by
agriculturist. The payback period of compressing method of mushroom cube by
hydraulics system in 2 months.

Article Details

How to Cite
[1]
สุทธิประภา ป., หนูบุญ ท., เวงสูงเนิน พ., อันสุรีย์ พ., หวังเขื่อนกลาง ว., and จารุวงศ์วิทยา ธ., “การเปรียบเทียบวิธีการอัดก้อนเชื้อเห็ดหอม (Comparison Method of Compressing Shiitake Mushroom Cube)”, RMUTI Journal, vol. 9, no. 1, pp. 195–202, May 2016.
Section
บทความวิจัย (Research article)

References

Atchariya, P. (1998). Statistics in Biological Sciences. Faculty of Liberal Arts and Science,
Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus

Harter, H. L. (2008). Critical Values for Duncan’s New Multiple Range Test. Biometrics.
Vol. 16. No. 4. pp. 671-685

Kwanchai A. G. and Arturo A. G. (1984). Statistical Procedures for Agricultural Research.
2nd. A Wiley-Interscience Publication, John W. & Sons

MedCalc. (1993). F Distribution critical values. Access (26 June 2014). Available (http://
www.medcal.org/manual/f-table.php)

Preecha, K. (2013). Shiitake Mushroom Culturing. Moo 9, Thai Samakkhi Sub-District,
Wang Nam Khiao District, Nakhonratchasima Provint, Thailand. Interview
(19 January 2013)

Preecha, T. (2009). Test of Significance. Access (26 June 2014). Available (http://www.
kmutt.ac.th/ev/inmage/EV640%20Test%20of%20Hypothesis%20and%20
ANOVA%20[Compatibility%20Mode].pdf)

Puengporn, N. (2002). Introduction to Experimental Design. Department of Mathematics
and Statistics. Faculty of Science. Maejo University.

Statistics Online Computational Resource (SOCR). (2002). F Distribution Tables. Access
(26 June 2014). Available (http://www.socr.ucla.edu/applets.dir/f_test.html)