An Effect of Thaksin’s Populism toward Thai Democratic Regime

Main Article Content

Pattara Wangkittikul

Abstract

The article presents the effect of Thaksin’s Populism toward Thai Democratic Regime by giving explanation that connects the related problems step by step. The first topic is Thaksin’s Populism and the conflicts of Thai people and the second topic is the Effects of Thai people’s conflict that have impact on Thai democratic Regime.


The results of the study were: Thaksin’s Populism was one of the causes of Thai people’s conflict because Thaksin’s Populism separated Thai people into two groups, the middle class group who were affected and the lower class group who received benefits from Thaksin’s Populism. However, the number of people in each group were very different. The number of people in the middle class group were fewer than those of the lower class one, so the middle class group could not defend with the government that was supported by the lower class group. Because of this, the middle class turned to collaborate with other powerful parties especially the military’s institution to fight against the government and the lower class group. This had an impact on the government stability. Finally, the governments were dissolved by coup d’ état in 2006 and 2014.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

Thitinob. รัฐประหาร 19 กันยา – วิถีประชาธิปไตยสังคมไทย? มุมมองจากภาคประชาชน. (14 ตุลาคม 2560). สืบค้นจาก https://thitinob.com/node/41

เกษียร เตชะพีระ. (2550). จากระบอบทักษิณสู่รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 : วิกฤตประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.

ทรงภูมิ พรหมภาพ. (2558). ปัจจัยที่ก่อให้เกิดประชานิยมทางการเมืองไทยปี พ.ศ. 2549 – 2553. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(2), 232 – 251.

ทีมข่าว ASTV. พระสุเทพรำลึก1ปี กปปส. จะต่อสู้ร่วมกันไปไม่ชนะไม่เลิก. (14 ตุลาคม 2557). สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9570000125464

ทีมข่าว ASTV. สนธิขึ้นเวทีหน้าช่อง 5 หนุนมวลชนสู้เพื่อปฏิรูปประเทศ – ย้ำทหารต้องออก ไม่เอานายกฯ คนกลาง. (14 ตุลาคม 2560) สืบค้นจาก http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?newsid=9570000051775

ทีมข่าว TCIJ. ย้อนดูโพลล์ยุคเผด็จการ 2549-2550 Politics of Poll กับความน่าเชื่อถือ. (14 ตุลาคม 2560). สืบค้นจาก http://www.tcijthai.com/office-tcij/view.php?ids=6319

นันทวุฒิ พิพัฒน์เสรีธรรม. (2551). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเกิดขึ้นของประชานิยมในประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์, 26(3), 119 – 116.

เนาวรัตน์ สุขสำราญ. เปิดใจสุเทพจากหน้า1บางกอกโพสต์. (14 ตุลาคม 2560). สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/analysis/interview/302501

ประภาส มันตะสูตร. (2558). ประสิทธิพลการนำนโยบายประชานิยมไปปฏิบัติในสังคมชนบทไทย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 298 – 308.

ศุทธิกานต์ มีจั่น. (2559). พฤติกรรมการเลือกตั้งและทัศนคติเกี่ยวกับการซื้อเสียงของเขตจังหวัดภาคอีสาน : กรณีตัวอย่างจังหวัดมหาสารคาม. วารสารสถาบันพระปกเกล้า 11(3), 110 – 128.

สิทธิโชค ลางคุลานนท์. (2552). พัฒนาการและบทบาททางการเมืองของกลุ่มธุรกิจการเมืองไทย. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์. (2556). ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. เชียงใหม่ : สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ.

อภิญญา ดิสสะมาน. (2557). การปฏิรูปประเทศไทยกับทางออกวิกฤตการเมืองไทย, วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 12(2), 5 – 30.

อรรถจักร สัตยานุรักษ์. (2557). การเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเมืองของสังคมชนบท : กระบวนการเคลื่อนไปสู่ประชาธิปไตย, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 6(2), 93 – 120.

อัสมา หวังกุหลำ. (2553). บทบาททางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในขบวนการพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยภายใต้ระบอบทักษิณ. วารสารร่มพฤกษ์, 28(3), 211 – 249.

อุบลพรรณ กระจ่างโพธิ์. (2553). การเคลื่อนไหวของขบวนการแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ช่วงรัฐบาลอภิสิทธิ์. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2550). ทักษิณา-ประชานิยม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : มติชน.