ธรรมาภิบาล : บริบทประเทศไทย

Main Article Content

ลาชิต ไชยอนงค์

Abstract

ในปี 1989 ธนาคารโลก (World Bank) นำคำว่า “Good Governance” ซึ่งภาษาไทยนิยมใช้คำว่า “ธรรมาภิบาล” มาใช้อย่างเป็นทางการ เพราะเชื่อว่า การพัฒนาอย่างยั่งยืนจักทำไม่ได้เลย ถ้าประเทศนั้น ๆ ปราศจากธรรมาภิบาล ธนาคารโลกจึงได้เสนอแนวทาง “ธรรมาภิบาลระดับโลก” (Global Governance) ที่พยายามผลักดันให้ประเทศในแถบทวีปเอเชียและประเทศอื่น ๆ พยายามเดินตามกรอบของธรรมาภิบาล เพราะเชื่อว่าด้วยหนทางนี้จะทำให้ประเทศกำลังพัฒนาจำนวนมากสามารถพัฒนาประเทศให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน สำหรับประเทศไทยเริ่มมีแนวคิดธรรมาภิบาลเข้ามาในช่วงปี 2540 (ค.ศ. 1997) แต่หลังจากนั้นธรรมาภิบาลในบริบทของประเทศไทยกลับเร่งสร้างและให้ความสนใจส่งเสริมธรรมาภิบาลระดับองค์การมากกว่าธรรมาภิบาลระดับชาติด้วยเหตุนี้ มาตรฐานทางการเมือง เศรษฐกิจ และการปกครองของประเทศไทยจึง ยังขาดไร้ซึ่งธรรมาภิบาลอยู่มาก

 

Good Governance: Context of Thailand

In 1989, World Bank introduced the word “Good Governance” to use worldwide because they believed that sustainable development could not be achieved without good governance. World Bank had proposed guidelines for “Global Good Governance” that urged countries in Asia and other countries around the world to follow the concept of Good Governance, with the belief that it would allow developing country to sustain their development. In 2007, Thailand began to insert the idea of good governance to improve the country’s development. In the context of Thailand, it was found that Good Governance occurred at the organizational level rather than at national level. Therefore, it was obvious that political, economic, and administrative standards of Thailand had lacked good governance.

Article Details

Section
Article