ธรรมาภิบาลภาครัฐและเอกชน : บูรณาการระบบอภิบาลเพื่อการพัฒนา

Main Article Content

พิพัฒน์ นนทนาธรณ์

Abstract

โลกได้ถูกแบ่งแยกด้วยคำพูดของประธานาธิบดีทรูแมนแห่งสหรัฐอเมริกาด้วยคำว่า “ด้อยพัฒนา” ทำให้ประชากรสองพันล้านคนกลายเป็นคนด้อยพัฒนาหลังจากนั้นก็ปรากฎเครื่องไม้เครื่องมือที่ช่วยในการพัฒนาจนถึง Governance ประเทศไทยรับเอาแนวคิด Governance มาใช้ในภาครัฐเรียกว่าธรรมาภิบาล ในภาคเอกชนเรียกว่าบรรษัทภิบาลซึ่งได้ปรากฎหลักการในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 และในกฎหมาย ระเบียบอื่นๆ อีกมาก

ระบบอภิบาลมีผลต่อการพัฒนาในแง่ที่บรรษัทภิบาลมีความสัมพันธ์กับการเติบโตของเศรษฐกิจและธุรกิจต่างๆ ธรรมาภิบาลยังเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาประเทศด้วยยุทธศาสตร์การเป็นห้นุ ส่วนร่วมภาครัฐเอกชน ระบบอภิบาลยังเช่อื มโยงกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรที่มุ่งเน้นไตรกำไร

ข้อเสนอแนะประการแรก ควรเพิ่มระบบอภิบาลในมิติอื่นๆ และบูรณาการกันเพื่อใช้พัฒนาประเทศในระดับจุลภาคด้วยการกำกับดูแลองค์กรที่ดีในภาครัฐและการกำกับดูแลกิจการที่ดีในภาคเอกชน ส่วนระดับมหภาคใช้ธรรมาภิบาลด้านจัดการ/บริหาร ร่วมกับธรรมาภิบาลด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประการที่สอง ควรพิจารณาคุณสมบัติของรัฐมนตรีที่เข้ามาบริหารราชการแผ่นดินจะต้องความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์อย่างน้อยก็ไม่ควรด้อยกว่าคุณสมบัติที่กำหนดให้ผู้สมัครเป็นผู้บริหารรัฐวิสาหกิจต่างๆ ประการสุดท้ายแยกหลักการบรรษัทภิบาลสำหรับรัฐวิสาหกิจออกจากหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนเพื่อส่งเสริมและเป็นเครื่องมือในการพัฒนา PPPs ให้ก้าวหน้าในขั้นที่สูงขึ้นซึ่งหมายความว่าจะมีศักยภาพในการพัฒนาประเทศได้เร็วขึ้น

 

Public and Private Governance : Integrating Governance for Development

World was divided by the address of the President Harry S. Truman. With the word “underdevelopment”, two billion people became the underdeveloped. After that, various development tools have been emerged including good governance. Thailand has adapted the governance concept to use in the public sector called Dharmabhiban (good governance) and to private sector called Bhansatbhiban (coporate governance) which were prescribed in the Constitution of Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007), laws and other regulations.

Governance approach has influenced on development as in the aspect of Bhansatbhiban which was related to the economic and business growth. Good governance was also an important tool for country development of the public-private partnership strategy. Besides, governance was linked to the corporate social responsibility which focused on the triple bottom line.

As for recommendations, first, other dimensions of governance should be added and integrated in order to develop the public sector of the country with good governance at macro-level, and to improve the private sector with corporate governance at micro-level. Second, the ministers who are in charge of the ministries should be well-qualified with knowledge, capabilities and experiences, at least not lesser than the qualifications imposed for the position of the executive directors of state enterprises. Finally, it is recommended that the corporate governance of State-Owned Enterprise be separated from corporate governance of listed companies in order to enhance and implement as a tool for PPPs development and shift to the next stage of PPPs to increase potentials for faster country development.

Article Details

Section
Article