การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

Authors

  • เพชรา พิพัฒน์สันติกุล
  • โสริยา ชิโนดม
  • สมใจ หุตะสุขพัฒน์
  • สราณีย์ สุทธิศรีปก

Keywords:

การพัฒนารูปแบบ, รูปแบบการจัดการเรียนรู้, คณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

Abstract

 

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อตอบโจทย์วิจัยตามวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ของคณาจารย์ 2) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนา รูปแบบการเรียนรู้สำหรับคณาจารย์ และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลกรุงเทพ จำนวน 209 คน ผลการวิจัย พบว่า คณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ จัดการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดรายวิชาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ (มคอ. 3) ผลการประเมินความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้เป็นไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้จากการกระทำ และการฝึกให้นักศึกษาประเมินผลงานด้วยตนเอง เพื่อให้ นักศึกษาสามารถ “หาคำตอบใหม่ จากปัญหาเดิม ให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น” ตามวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นนี้ เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาปฏิบัติได้ การใช้การประเมินผล การเรียนรู้เพื่อการพัฒนานักศึกษา และสะท้อนผลการประเมินให้นักศึกษาทราบ มีการใช้บทเรียนออนไลน์ เพื่อช่วยให้นักศึกษาทบทวนการเรียนรู้ได้ และต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ การเรียนรู้ของนักศึกษา การใช้ภาษา อังกฤษ การเป็นนักเทคโนโลยีเชิงสร้างสรรค์ และมารยาทไทยเป็นสำคัญ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. (2552, 16 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่ม 123 ตอนที่ 56 ง. หน้า 289-305.
กองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. (2558). ข้อมูลบุคลากรของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. เอกสารจัดทำตามคำขอ.
นภาพร จันทร์ฉาย. (2558). การประเมินคุณภาพบัณฑิตระดับปริญญาตรี หลักสูตรอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
และบริการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. วารสารวิจัย มสด
สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(1), 181-195.
วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National qualifications
framework): กรณีศึกษากรอบคุณวุฒิทางการศึกษาของต่างประเทศ. เอกสารอัดสำเนา
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553). สืบค้น 20 มิถุนายน 2557, จาก
http://www.onec. go.th/index.php /page/ category/CAT0000006
Barber, M. (2010). The prospects for global education reform. Retrieve February 24, 2012
from http: //www.collegeofteachers.ac.uk/content/sir-michael-barber-2010.
Pitiyanuwat, S. (2011). Improving Thai educators’ competencies. The Royal Institute of
Thailand.
Srisa-an, W. (1997). Borderless Learning Environment in Higher Education in the Asia-Pacific
for the Twenty-First Century. Paper presented at the World Congress on Higher
Education and Human Resources Development in the Asia-Pacific for the Twenty-
First Century, June 1997, Manila, The Philippines. In Umaly, R.C.
& Pinyonatthagarn, D.(Editors). Global Education: Borderless World, Collection of
Academic Papers on Higher Education Innovation By Professor Dr. Wichit Srisa-an
Suranaree University of Thailand & The Association of Universities of Asia and the
Pacific (AUAP), 1998, 63-83.
Trilling, B. & Fadel, C. (2009). 21 Century skills, learning for life in our times. Jossey-Bass.
Tungdamnernsawad, S. (2016). An Ability to Apply the 2014-2017 Strategic Plan to
Implementation and Education Quality Assurance Administration of Internal
Units of Suan Dusit Rajabhat University. Suan Dusit Graduate School Academic
Journal, 12(1), 171-188. (in Thai)
Translated Thai References
Janchai et al. (2015). Evaluation of Graduate’ Quality on Tourism and Hospitality Industry
Programe based on Thailand Qualification Framework on Higher Education B.E.
2552. Humanities and Social Sciences SDU Research Journal, 11(1), 181-195.
(in Thai)
Kamkate, W. (2012). Research Methods in Behavioral Science. Bangkok: Chulalongkorn
University Press. (in Thai)
Ministry of Education. (2009). Ministry of Education Announcement Guidelines for the
implementation of the national standard for higher education. B.E. 2009. (2009.
16 July). The Government Gazette. Book 123 part 56 ง. Pages 289-305 (in Thai)
Office of the Education council. (2010). National qualifications framework: Case study
framework for international education. Document copied. (in Thai)
Office of the Education council. (2010). Notional Education Act B.E. 2542 (1999) and
Amendments (Third National Education Act B.E. 2053 (2010) ) Bangkok: Ministry
of Education. Retrieved June 20, 2014, from http://www.onec. go.th/index.php/
page/category/CAT0000006 (in Thai)
Personal Administration Division, Rajamangala University of Technology Krungthep. (2015).
University of Technology Krungthep Personnel Information. Documents prepared
on request. (in Thai)

Downloads

Published

2019-04-30

How to Cite

พิพัฒน์สันติกุล เ., ชิโนดม โ., หุตะสุขพัฒน์ ส., & สุทธิศรีปก ส. (2019). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ของคณาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 14(1), 73–89. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/186359

Issue

Section

Original Articles