ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้: เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ดีกว่างงอยู่กับเนื้อหามากมาย

Authors

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดนุชา ปนคำ

Keywords:

การศึกษา, กิจกรรม

Abstract

“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เป็นนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่แสดงให้เห็นถึงการให้
ความสำคัญในการพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้ที่มีทักษะชีวิตโดยเฉพาะทักษะที่จำเป็นในการใช้ชีวิตในศตวรรษที่ 21
การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ครูจำเป็นต้องทำความเข้าใจทฤษฎี หลักการ และแนวคิดของ
กิจกรรม จากนั้นจึงวิเคราะห์ความพร้อมของสถานศึกษา และนักเรียนเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุตาม
จุดหมาย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา จัดทำขึ้นมี 4 รายการ ได้แก่ 1) คู่มือบริการจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่ม
เวลารู้” 2) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
3) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 4) แนวทาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ผู้เขียนได้ศึกษาเอกสาร
ดังกล่าว วิเคราะห์ทฤษฎี หลักการและแนวคิดของกิจกรรมการเรียนรู้ “เพิ่มเวลารู้” ไปสู่การจัดกิจกรรม
ในมุมมองของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาซึ่งสามารถประยุกต์ไปใช้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้

References

Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. (2015). Time Management
Instructional Manual “Reduce class time, increase learning time”. Retrieved
April 4, 2016, from http://academic.obec.go.th/web/node/460. (in Thai)
. (2015). Management Guidelines for Learning Activities “Reduce class time,
increase learning time” for 1st - 3rd Grade Students. Retrieved April 4, 2016,
from http://academic.obec.go.th/web/node/460. (in Thai)
. (2015). Management Guidelines for Learning Activities “Reduce class time,
increase learning time” for 4th- 6th Grade Students. Retrieved April 4, 2016,
from http://academic.obec.go.th/web/node/460. (in Thai)
. (2015). Management Guidelines for Learning Activities “Reduce class time,
increase learning time” for 7th- 9th Grade Students. Retrieved April 4, 2016,
from http://academic.obec.go.th/web/node/460. (in Thai)
Henriques, L. (1997). A Study to Define and Verify a Model of Interactive-constructive
Elementary School Science Teaching. (Doctoral’s dissertation). University of lowa,
Iowa City.
Kauchak, D. P. & Eggen. (1998). Learning and Teaching: Researched-Based Methods.
Boston : Allyn & Bacon.

Downloads

Published

2016-12-20

How to Cite

ปนคำ ผ. ด. (2016). ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้: เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ดีกว่างงอยู่กับเนื้อหามากมาย. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 12(3), 1–17. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/186420