การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และทักษะชีวิตด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิตสำหรับเด็กปฐมวัย

Authors

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิติยา เนตรวงษ์

Keywords:

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน, นิสัยรักการอ่าน, ทักษะชีวิต

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการส่งเสริมการอ่าน และสภาพทักษะชีวิตของ
เด็กปฐมวัยตามความคิดเห็นของครูปฐมวัย 2) สร้างรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างนิสัย
รักการอ่านและทักษะชีวิตด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิตสำหรับเด็กปฐมวัย 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบกิจกรรม
ส่งเสริมการอ่านฯ และ 4) รับรองและนำเสนอรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การศึกษาแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) ครูปฐมวัย จำนวน 143 คน 2) ผู้เชี่ยวชาญเพื่อ
การสัมภาษณ์ จำนวน 7 คน และประชุมกลุ่ม จำนวน 8 คน 3) เด็กปฐมวัย จำนวน 25 คน และ
4) ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อรับรองรูปแบบ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3) แบบสังเกตพฤติกรรมรักการอ่านและทักษะชีวิตฯ และ
4) แบบรับรองรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านฯ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย
เลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) t-test และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ซึ่งผล
การศึกษาพบว่า 1) สภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็กปฐมวัยของครูปฐมวัยโดยภาพรวม
การปฏิบัติอยู่ระดับมาก (χ
= 3.95) การปฏิบัติกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตสำหรับเด็กปฐมวัยของ
ครูปฐมวัย โดยภาพรวมการปฏิบัติอยู่ระดับมาก (χ
= 4.14) 2) รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านฯ
ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ (1) บุคลากร (2) การจัดการและทรัพยากรเพื่อดำเนินการ (3) กิจกรรม
เพื่อดำเนินการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (4) พื้นที่ดำเนินการและสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการอ่านและ
ทักษะชีวิต และ (5) การประเมินผล 3) พฤติกรรมรักการอ่าน (χ
= 3.20) และทักษะชีวิต (χ
= 3.32) ของ
กลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมาก และ 4) ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านใน
ระดับมาก (χ
= 3.32)

References

Bhulpat, C. (2015). Leader Early Childhood Education. SDU Research Journal Social
Sciences and Humanities, 11(1), 1-15. (in Thai)
Boonsau, K. & Boonsau, A. (2006). How to Teach Language to Expert Child. Bangkok:
Saradek Publishing. (in Thai)
Chaleysup, S. (2010). Attitude of Teachers and Parent towards the Reading
Encouragement Model for Early Childhood. Graduate School, Suan Dusit Rajabhat
University.
Ministry of Education. (2003). Early Childhood Curriculum (2003). Bangkok: Kurusapa
Printing Press. (in Thai)
Niamsorn, S. (2015). Adoption of Information Technology in Early Childhood Education:
Fashionable or Necessary?. SDU Research Journal Social Sciences and
Humanities, 11(2), 179-192. (in Thai)
Office of the Basic Education Commission. (2010). Direction of Develop Early Children
Education Program of OBEC. Retrieved November 11, 2010, from http://
www.obec.go.th. (in Thai)
Reis, A. A. (2001). Singing a Story: Exploring the Effects of Music-based Reading Rctivities on
Emergent Readers. Dissertation Abstracts International. 40(02), 290-A.
Rodchamnan, T. (2009). Develop Language of Early Childhood. Journal of Industrial
Education, 8(2), 324-328. (in Thai)
Samahitho. C. (2006). The Development of Language for Early Childhood. Faculty of
Education, Kasetsart University. (in Thai)
Sangaungkittipun, T. (2002). Life Skill. Bangkok: Bannakit. (in Thai)
Sutsung, V. (2006). Teacher story. Siamratsubdavijan Journal, 53(8), 14-20. (in Thai)
Tiemtad, C. (2014). Learning Experiences of Early Childhood in Matthayomsathukarnwittaya
School. SDU Research Journal Social Sciences and Humanities, 10(2), 1-17.
(in Thai)
Warathon, S. (2007). To Induce Thai Children To Reader 2. Bangkok: Thailand Knowledge
Park. (in Thai)
WHO. (2010). Life Skill.Vaccine to Protect Child. Retrieved November 11, 2010, from http://
women.kapook.com/view6188.html. (in Thai)

Downloads

Published

2016-12-20

How to Cite

เนตรวงษ์ ผ. ด. (2016). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และทักษะชีวิตด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิตสำหรับเด็กปฐมวัย. Journal of Multidisciplinary in Social Sciences, 12(3), 95–111. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/sduhs/article/view/186463