สภาพและปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม

Authors

  • ฉวีวรรณ ลิมวัฒนาสมุทร นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพและปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษา ระดับปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามการรับรู้ของผู้บริหาร โรงเรียนและครูผู้สอนระดับการศึกษาปฐมวัย จำแนกตามตำแหน่งสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษา ประสบการณ์ การทำงานและขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 111 คน และ ครูผู้สอนระดับการศึกษาปฐมวัย จำนวน 190 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ด้านสภาพการดำเนินงาน มีค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง 0.46–0.78 และ ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 ส่วนด้านปัญหาการดำเนินงาน มีค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง 0.24–0.72 และค่าความ เชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว

ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาในจังหวัดนครพนม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2)ปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย 3)สภาพการ ดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม จำแนกตาม สถานภาพตำแหน่ง ไม่แตกต่างกัน 4) ปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง ไม่แตกต่างกัน 5) สภาพการดำเนินงานจัด การศึกษาปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของ ผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำแนกตามสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 6)ปัญหาการ ดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำแนกตามสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษา ไม่แตกต่างกัน 7) สภาพการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่แตกต่างกัน 8) ปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัยจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่แตกต่างกัน 9) สภาพการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำแนกตามขนาดโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริหารและครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดกลางมีความคิดเห็นสูง กว่าผู้บริหารและครูในโรงเรียนขนาดใหญ่ 10) ปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับปฐมวัย จำแนกตามขนาดโรงเรียน ไม่แตกต่างกัน 11) การดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนมด้านที่ต้องหาแนวทางส่งเสริม ได้แก่ ด้านการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ด้านการบูรณาการการเรียนรู้ ด้านการประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของ เด็กและด้านความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการจัดการศึกษา ซึ่งผู้วิจัยได้นำเสนอ แนวทางการส่งเสริมไว้แล้ว

 

Abstract

This study aimed to investigate and compare the state and problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area as perceived by school administrators and early childhood teachers, both of which were classified by their positions, fields of study, working experiences, and sizes of schools. Samples of the study; selected by multi-stage sampling; were 111 school administrators and 190 early childhood teachers. Instrument used to collect data was a set of researcher-constructed questionnaires which consisted of 2 parts – the first part’s questions of which discrimination power and reliability were 0.46-0.78 and 0.97 asking about the state of the implementation of early childhood education in schools, whereas the questions of the second part of which discrimination power and reliability were 0.24-0.72 and 0.95 were about the problems of the implementation. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test (independent samples), and One-way ANOVA

Results of the study were as follows : 1) School administrators and early childhood teachers’ views of the state of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area as a whole were at the high level. 2) School administrators and early childhood teachers’ views of the problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area as a whole were at the low level. 3) School administrators and early childhood teachers’ views of the state of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their positions were not different. 4) School administrators and early childhood teachers’ views of the problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their positions were not different.5) School administrators and early childhood teachers’ views of the state of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their fields of study were not different. 6) School administrators and early childhood teachers’ views of the problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their fields of study were not different. 7) School administrators and early childhood teachers’ views of the state of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their working experiences were not different. 8) School administrators and early childhood teachers’ views of the problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their working experiences were not different. 9) School administrators and early childhood teachers’ views of the state of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their school sizes were statistically different at the .05 level. The opinion of those who were working at small and medium-sized schools were higher than those who were working at large-sized schools. 10) School administrators and early childhood teachers’ views of the problems of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area classified by their school sizes were not different. 11) Other areas of the implementation of early childhood education in schools under the Offices of Nakhon Phanom Educational Service Area that need to be improved, all suggestions for which were presented by the author, included the children’s development and learning-promoting activities, the learning integration, the assessment and evaluation of the children’s development and learning, and the relationship and participation among the parents and the communities in educational management

Downloads

How to Cite

ลิมวัฒนาสมุทร ฉ. (2013). สภาพและปัญหาการดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนครพนม. Creative Science, 2(4), 133–150. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/snru_journal/article/view/10045