การศึกษาการเรียนรู้ภาษาหยี และจีนกลางแบบทวิภาษาของเด็กวัยก่อนเรียน ในจังหวัดยวี่ซี มณฑลหยุนหนาน กรณีศึกษาเด็กในหมู่บ้านหยีโหล่เหอ

Main Article Content

Changyan Shi

บทคัดย่อ

จุดประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาการเรียนรู้ภาษาหยีและภาษาจีนกลางแบบทวิภาษาของเด็กวัย ก่อนเรียนในชุมชนที่มีชนชาติส่วนน้อยอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นในจังหวัดยิ้วซีมณฑลยูนนานโดยมุ่งศึกษาถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภาษาโดยเฉพาะการสัมผัสภาษาและความสามารถการเรียนรู้ทวิภาษาของเด็กชาติพันธุ์วัยก่อนเรียนการศึกษานี้ใช้วิธีวิจัยแบบชาติพันธุ์วรรณาโดยศึกษาวิจัยผู้เรียนรู้และการใช้ทวิภาษาในครอบครัวในโรงเรียนและในชุมชนหมู่บ้าน

ผลการวิจัยพบว่าสิ่งแวดล้อมทวิภาษาโดยเฉพาะการสัมผัสภาษาและปริมาณการป้อนภาษาเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมความสามารถการใช้ทวิภาษานอกจากนี้เจตคติเกี่ยวกับทวิภาษาของผู้ป้อนภาษาก็เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเรียนรู้แบบทวิภาษาของเด็ก ผลการวิจัยได้ข้อเสนอแนะสำหรับผู้ปกครองดังนี้ ผู้ปกครองควรใช้กลยุทธ์หนึ่งคนหนึ่งภาษาและสร้างสภาพแวดล้อมทวิภาษาที่ดีสำหรับเด็กนอกจากนี้ พ่อแม่และครูควรให้ความสำคัญแก่การสัมผัสภาษาและคุณภาพการป้อนภาษาไทย นอกจากนี้ ผู้กำหนดนโยบายภาษาสัมพันธ์ควรกำหนดนโยบายภาษาทีดีต่อภาษาชนกลุ่มน้อนและภาษาจีนกลางอีกทั้งยังต้องพิจารณาสถานภาพที่เท่าเทียมกันของทั้งสองภาษา

 

A Study of Acquisition of Yi and Mandarin by Bilingual Preschoolers in Yunnan Province, China: A Case Study of Children in a Yi Village

This study investigated how ethnic preschoolers acquire bilingual competence in an ethnic minority concentrated community in Yunnan Province of China. It mainly examined the influence of bilingual environment, specifically, amount of language exposure and input on bilingual competence of ethnic preschoolers. Through using ethnographic methods in this study, the issue of how the informants simultaneously acquire bilingual competence at home, school and community was carefully observed.

The results of the study indicated that bilingual environment, especially, amount of exposure and input were significant predictors of bilingual competence. It was found that interlocutors’ positive attitudes toward bilingual teaching could influence bilingual acquisition of the children. The results from this study suggested that parents should follow one person one language strategy and create favorable bilingual environment for the children. Also, both parents and teachers were advised to highlight the quality of language exposure and input. Furthermore, the language policy makers were suggested to stipulate relative language policies in favor of both the minority language and majority language and consider equal status of both languages.

Article Details

บท
บทความ