การวิเคราะห์ภาษาภาพพจน์ที่ใช้ในนิทานกริมส์

Main Article Content

Ding Ting

บทคัดย่อ

     งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ภาษาภาพพจน์ที่ใช้ในทานกริมส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ภาษาภาพพจน์ที่ใช้ในนิทานกริมส์ โดยเก็บข้อมูลจากนิทานที่มีตัวละครหลักเป็นตัวละครที่สร้างขึ้นมาจากจินตนาการของผู้เขียนในนิทานกริมส์จำนวนทั้งหมด 51 เรื่อง โดยใช้ภาษาภาพพจน์จำนวน 17 ชนิดเป็นฐานในการวิเคราะห์


     จากการวิเคราะห์พบว่านิทานกริมส์มีภาษาภาพพจน์ที่ใช้มากที่สุดสามลำดับ คือ Personificationจำนวนร้อยละ 40 Repetition จำนวนร้อยละ 23 และ Simile จำนวนร้อยละ 16 ตามลำดับ ภาษาภาพพจน์ที่พบว่ามีการใช้น้อยที่สุดเรียงตามลำดับดังนี้ Parallelism จำนวนร้อยละ 2 Metaphor จำนวนร้อยละ 2 และClimax จำนวนร้อยละ 2 ภาษาภาพพจน์ที่ไม่พบการใช้คือ Metonymy, Synecdoche, Paradox, Irony, Understatement, Allusion, Pun, Contrast และ Phyme.

Article Details

บท
บทความ

References

Worthy, J &MckooL, S. (1996). Students who say they hate to read. The importance of opportunity, choice, and access. In D. J. Leu, C. K. Kinzer, & K.A. Hinchman (Eds.), Literacies of the 21s century: Research and practice. 45th yearbook of National Reading Conference (pp. 245-256). Chicago: National Reading Conference.

Cameron. (2013). The Benefits of Reading Fairy Tales to Your Child. Retrieved on September 13th, 2013, from http://www.littlepicklepress.com/the-benefits-of-reading-fairy- tales-to-your-child/

Yuan Lvyin. (2011). The Application of Figurative Language used in Fairy Tales. (Master Degree). Guangxi University of Foreign University. Guangxi.

Yang Er. (2007).The figurative Language used in Zhen Yuan’s Fairy Tales. (Master Degree). Central China Normal University. Wuhan.

Liu Yuena. (2004).The study of Hyperbole. (Master Degree (English). Hebei University. Hebei.

Laura, M. (2010).Fairy Tales as literature. Retrieved from https://paperbacksnpost cards.wordpress.com/2012/01/12/fairy-tales-as-literature/.窗体底端