แนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

Authors

  • สุรีย์ เข็มทอง

Keywords:

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์, การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, การมีส่วนร่วมของชุมชน, Ecotourism, Sustainable tourism, Local participation

Abstract

บทคัดย่อ

จุดมุ่งหมายของบทความนี้ คือเพื่อเสนอแนวคิดของการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์จากกรณีศึกษาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของกลุ่มอนุรักษ์ต้นน้ำมูลบ้านบุไทร เนื่องจากการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในประเทศไทยเน้นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งแนวคิดของการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มีความสำคัญต่อการดูแลรักษาทรัพยากรท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม และการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวแก่จุดหมายปลายทางของแหล่งท่องเที่ยว ส่วนแนวปฏิบัติที่ดีนั้นนอกจากจะทำให้คนในชุมชนมีการร่วมมือร่วมใจ มีความรู้สึกตระหนักต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม และมีรายได้ในชุมชน แล้วยังเป็นแนวทางที่สามารถทำให้นักท่องเที่ยวมีความรู้สึกประทับใจต่อแหล่งท่องเที่ยว

คำสำคัญ: การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การมีส่วนร่วมของชุมชน

 

ABSTRACT

The aims of this article were to propose a concept and the best practice of ecotourism management in a case of Conservative Group of Ton Nam Ban Bu Sai. With the recent promotion of eco-tourism in Thailand, is mainly focused on the sustainability of tourism. The Ecotourism development involves activities that directly contribute to conserving or protecting natural and cultural tourism resources as well as to increase the competitiveness of tourism destinations. The best practice for developing ecotourism, aims at promoting the local participation, emphasizing the importance of the environment, and optimizing the benefits of the local economy, including tourists’ impression on destination.

Keywords: Ecotourism, Sustainable tourism, Local participation

Downloads

How to Cite

เข็มทอง ส. (2014). แนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. Modern Management Journal, 11(2), 1–10. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/stou-sms-pr/article/view/16933