การจัดประสบการณ์เพื่อให้เด็กปฐมวัยพัฒนาสื่อจำลอง 3 มิติ

Main Article Content

รวินันท์ สัจจาศิลป์
รวินันท์ สัจจาศิลป์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


                บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิด การผลิต และประโยชน์จากสื่อจำลอง 3 มิติ ที่ใช้กับเด็กปฐมวัย ซึ่งสื่อจำลอง 3 มิติเป็นสื่อที่เป็นรูปธรรม ทำให้เด็กเกิดความเข้าใจสิ่งที่เป็นรูปธรรม และนำไปสู่สิ่งที่เป็นนามธรรม โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กจำลองสถานการณ์ เหตุการณ์ ภาพ ให้อยู่ในรูปแบบ ที่สามารถมองเห็นได้หลากหลายมุม สื่อจำลอง 3 มิติ เด็กปฐมวัยจะได้เรียนรู้โดยการลงมือสร้างสื่อจำลอง 3 มิติ จะช่วยทำให้เด็กพัฒนาทักษะการคิด และสามารถนำมาบูรณาการให้เด็กได้รับความรู้ และทักษะในศาสตร์อื่น ๆ ต่อไป


 


คำสำคัญ : สื่อจำลอง 3 มิติ , เด็กปฐมวัย


 


 


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Articles)

References

กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2551 . การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ:เบรน-เบส บุ๊คส์.
ธีร์รัฐ เมธีวัชรธนาภรณ์. 2558. สายสัมพันธ์อันอบอุ่นและวุ่นวายในบ้านของฉัน. ศิลปะนิพนธ์ สาขาวิชาทัศนศิลป์(ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปิยะกุล นุ่มกัลยา . 2551. การสร้างสื่อสามมิติ . ราชบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
พัชรี ผลโยธินและ วรนาท รักสกุลไทย. 2557. การจัดทำสารนิทัศน์ในระดับปฐมวัย. กรุงเทพฯ:แฮปปี้
เลิร์นนิ่ง
สุรศักดิ์ ปาเฮ. 2553. สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 แพร่ :แพร่ไทยอุตสาหการพิมพ์.
Byington & Kim. 2017. Promoting Preschoolers’ Emergent Writing .by the National Association for the Education of Young Children. (Online) สืบค้นจากhttps://www.naeyc.org/resources/pubs/yc/nov2017/emergent-writing เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2561
Insley.J. 2008. Little landscapes:Dioramas in museum display . Endearour
John Dewey .1959 . Experience and Education. New York : Macmillan Publishing Company.
Ministry of Education,Singapore.2012.A Curriculum Framework for Kindergarten in Singapore .Neu print pte ltd
Tunnicliffe and Scheersoi. 2015. Natural History Dioramas. Springer Science-Businedd Media Dordrecht.