การพัฒนานวัตกรรมการเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตามทฤษฏีการสร้างสรรค์ความรู้ ด้วยปัญญา ว่าด้วยการเลี้ยงไหม และการทอผ้าไหมพื้นบ้านด้วยมือ ในชุมชนบ้านเสี้ยวน้อย ตำบลบ้านเล่า อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ (An Innovation Development of Web-Based Instruction Through Constructivist Theory using Breeding and Weaving on Silk by Hand from Distinctive Local Wisdom at Bansiewnoi, Tambon Banlao, Muang District, Chaiyaphum Province)

ผู้แต่ง

  • ศิรินันท์ ถนัดค้า (Sirinan Thanudca) และคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

คำสำคัญ:

การเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์/ ทฤษฏีการสร้างสรรค์ความรู้ด้วยปัญญา/ การเลี้ยงไหมการทอผ้าไหมพื้นบ้านด้วยมือ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบริบทชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นว่าด้วยการเลี้ยงไหม นำไปสู่นวัตกรรมการทอผ้าไหมพื้นบ้านด้วยมือแบบดั้งเดิมที่โดดเด่น และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ไหมในหมู่บ้านเสี้ยวน้อย ตำบลบ้านเล่า อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 2) เพื่อพัฒนาและสร้างบทเรียนวิทยาศาสตร์โดยใช้ทฤษฏีสร้างสรรค์ความรู้ด้วยปัญญา 2 ระดับ ได้แก่ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และระดับอุดมศึกษา 3) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน และ 4) เพื่อศึกษาความ      พึงพอใจของผู้เรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นหมู่บ้านเสี้ยวน้อย จังหวัดชัยภูมิ มีการปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ใช้ในการทอผ้าไหมพื้นบ้านมาตั้งแต่ปู่ ย่า ตา ยาย สืบทอดจนปัจจุบัน และมีการแปรรูปผลิตภัณฑ์หม่อนและไหม 2) ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ ผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา มีค่า E1/E2  เท่ากับ 80.83/93.75  และเท่ากับ 85.82/88.74  ตามลำดับ แสดงว่าบทเรียนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ตามที่ได้กำหนดไว้  3) ผู้เรียนทั้ง 2 ระดับมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  4)  และผู้เรียนทั้ง 2 ระดับที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายฯ มีความพึงพอใจของผู้เรียน  มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ที่ระดับมากที่สุด ( = 4.55) และ ( = 4.60)  ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.24 และ 0.26 ตามลำดับ

References

กลุ่มพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้. (2559). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้
และควรรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ฉันท์ทิพย์ ลีลิตธรรม และพรเพ็ญ เอกเอี่ยมวัฒนกุล. (2559). “ความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน
โดยผ่านกูเกิลคลาสรูม ของนักศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี” วารสารเทคโนโลยี
สื่อสารมวลชน มทร.พระนคร 1 (1) : 25. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2560.
จาก https://mct.rmutp.ac.th/jmct/wp-content/uploads/2017/05/Issue1-1_page20-25.pdf.
นฤมล ศิระวงษ์. (2548). การพัฒนาบทเรียนออนไลนืวิชาการเขียนหนังสือเพื่อการพิมพ์ใน
ระดับอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
ทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ภาสกร เรืองรอง และมลชยา หวานชะเอม. (2015). การใช้เทคโนโลยี Google Apps ใน
การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน. เอกสารการสอนภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสาร
การศึกษา สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ภัทราภรณ์ สืบจากอินทร์ บุษบา บัวสมบูรณ์. (2555). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง
การสร้างคำในภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทพินทร์พิทยา
อ.บ้านโป่ง จ. ราชบุรี”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 4 (2) : 221.
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (2547). นโยบาย พันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2560. จาก
https://www.cpru.ac.th/cpruthai2018/index.php/department/.
เยาวลักษณ์ พรมศรี. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชวยสอนบนเครือขายคอมพิวเตอร์
ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคจิกซอว์
เรื่องอินเทอรเน็ตเบื้องต้น สาขาวิชา: เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาพระนครเหนือ.
วิทยา ปิ่นกันทา สมชาย มาต๊ะพาน ประพันธ์ กาวิชัย. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ผ่านบริการ Google Apps: Google Classroom. การพัฒนาการเรียนการสอน
กอท.และการวิจัยการจัดการเรียนการสอน online. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2560.
จาก https://sites.google.com/a/lpn1.go.th/classroom /kxth63.
ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ มาเรียม นิลพันธุ์. (2559). “กระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญานและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์สำหรับ
นักเรียนระดับประถมศึกษา”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 8 (1) : 188.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551). เทคโนโลยีการศึกษา : หลักการศึกษา ทฤษฏีสู่การปฏิบัติ.
ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
เสมา สอนประสม. (2559). การศึกษาความพึงพอใจในการใช้คลาสรูมในวิชาฟิสิกส์ 1 สําหรับ
นักศึกษาคณะวศิวกรรมศาสตร์. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.
อนมุาศ แสงสว่าง และเฉลิมชัย วิโรจน์วรรณ. (2558). การประยุกต์ใช้กูเกิล คลาสรูมสำหรับการ
จัดการเรียนการสอนรายวิชาการ วิเคราะห์และออกแบบระบบของนักศึกษาคณะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
เอกนฤน บางท่าไม้ อนิรุทธ์ สติมั่น มณฑิรา พันธุ์อ้น. (2555). “การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน
แบบใช้ปัญหาเป็นฐานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและผลสัมฤทธิ์ของ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร”. วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย. 4 (2) : 87.
อภิรักษ์ ทูลธรรม และอุมาพร จันโสภา. (2016). ความพึงพอใจระบบบริการจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์มูเดิ้ลและกูเกิ้ลคลาสรูม ในบทบาทของผู้สอน. สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2552). เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: :ซีเอ็ดยูเคชั่น.
โฮมสเตย์หมู่บ้านท่องเที่ยวไหมบ้านเสี้ยวน้อย. (มปป.). ตำบลบ้านเล่า อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.
เอกสารอัดสำเนา.
Brian R. Belland. (2009). Portraits of middle school students constructing evidence-based
arguments during problem-based learning: the impact of computer-based scaffolds.
B. R. Belland (&) Department of Instructional Technology and Learning Sciences,
Utah State University, 2830 Old Main Hill, Logan, UT 84341, USA.
Christine Greenhow, Beth Robelia, Joan E. Hughes. (2009). Learning, Teaching, and
Scholarship in a Digital Age Web 2.0 and Classroom Research: What Path
Should We Take Now?. [Online]. Retrieved May 20, 2017.
Form https://doi.org/10.3102/0013189X09336671.
Lois A. Cox. (2014). Constructivism Examined in a 1:1 Chromebook /Google
Applications Collaborative Mobile Learning Program in the Upper
Midwest. Dissertation Manuscript. Submitted to Northcentral University.
Graduate Faculty of the School of education in Partial Fulfillment of the
Requirements for the Degree of DOCTOR OF PHILOSOPHY, Prescott Valley,
Arizona.
Moscaritolo, Angela. (2014). “Google Classroom Helps Teachers Create, Organize Assignments”.
Trade Journals, Document type: News. ProQuest document ID: 1522100473.
New York United States: Ziff-Davis Media Inc. [Online]. Retrieved May 20, 2017.
From https://search.proquest.com/docview/15 22100473?accountid=31934.
Ozgen KORKMAZ. (2013). The effects of differenct interartion type in Web-Based
teaching on the atttudes of learners toward Web-Based teaching and
internet. Mevlana University, Education Faculty, Department of Computer
Education and Instructional Technology, Konya/TURKEY.
Schneider, D. (1994). Teaching and learning with internet tools: A position
paper. Proceedings of the First International Conference on the World-Wide
Web. Geneva: University of Geneva. [Online]. Retrieved May 20, 2017.
From https://tecfa.unige.ch/edu- comp/edu -ws94/contrib/ schneider/schneide.fm.html.

เผยแพร่แล้ว

2019-02-07

ฉบับ

บท

บทความวิจัย