การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับการเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับ ครูและบุคลากรทางการศึกษา (Participatory Action Research and Empowerment of Teacher and Educational Personnel)

ผู้แต่ง

  • คณิต เขียววิชัย (Kanit Kheovichai)

คำสำคัญ:

Participatory Action Research/ Empowerment

บทคัดย่อ

การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม หรือการพัฒนาระบบ
การทำงานเพื่อเพิ่มพลังในการทำงานของบุคคล การสนับสนุนสิ่งที่เป็นปัจจัยสำคัญในการทำงาน หรือการ
สร้างวิธีการต่าง ๆ ที่ช่วยให้บุคคลได้พัฒนาความสามารถในการทำงานได้ดีขึ้น อย่างริเริ่มสร้างสรรค์และมี
ความตระหนักในคุณค่าของตนเอง โดยยึดถือหลักการทางสังคม ในเรื่องการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การร่วม
แรงร่วมใจในการทำงาน การมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันและการมีส่วนร่วมอย่างภาคภูมิใจ โดยก่อให้เกิด
ผลลัพธ์ที่ดีต่องานที่ได้ปฏิบัติ การเสริมสร้างพลังอำนาจจะเป็ นทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ ดังนั้น
กระบวนการของการวิจัยเชิงคุณภาพจะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะเสริมสร้างพลังอำนาจ เพราะว่าแนวคิดที่สำคัญ
การวิจัยเชิงคุณภาพจะเน้นที่การมีส่วนร่วม และจะดูที่ผลลัพธ์เป็นสำคัญ เมื่อเป็นเช่นนี้การวิจัยเชิงคุณภาพก็
จะเป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้บุคคลากรที่เป็นกลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้มีส่วนร่วมกันในการ
กำหนดปัญหา และการร่วมคิดหาแนวทางในการแก้ปัญหา หรืออาจจะเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ที่ส่งผล
ให้มีสัมพันธภาพที่ดี และมีความภูมิใจในคนเองและตระหนักในคุณค่า สร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงาน
ด้านต่าง ๆ จนนำไปสู่ความสำเร็จ จึงพอจะสรุปได้ว่ากระบวนการของการวัยเชิงคุณภาพจะมีส่วนช่วยให้ครู
และบุคลากรทางการศึกษามีพลังอำนาจในการทำงาน และปฏิบัติงานได้บรรลุเป้ าหมายต่อไป

References

คณิต เขียววิชัย. (2551). การเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับคณบดีคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์

ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เฉลียว บุรีภักดิ์. (2542). ทฤษฏีระบบและการพัฒนาที่ยั่งยืน. ศูนย์ประชาสัมพันธ์สำนักงานสถาบันราชภัฏ.

กรุงเทพมหานคร: แอล.ที.เพรส.

ประวิต เอราวรรณ์. (2548). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจครูในโรงเรียน: กรณีศึกษา

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิริพร ใจห้าว. (2562). การเสริมสร้างพลังอำนาจครู . bantungsan.blogspot.com/2013/06/blog- post_15.htm. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2562.

สุภางค์ จันทวานิช. (2547). พฤติกรรมรวมหมู่ในสังคมและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 9. สำนักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อติพร ทองหล่อ. (2546). รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจอาจารย์พยาบาล สังกัดสถาบันพระบรม

ราชชนก. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bandura, A. (1997). Perceived self-efficacy in cognitive development and functioning. Educational Psychologist, 28(2), 117-148 https://sydney.edu.au/education, search 21 January 2019.

_______. (1986). Social Foundations of Thought and Action: A Social Cognitive Theory.

New York: Prentice-Hall.

Bandura. (1988). Social foundations thought and action: Asocial cognitive Theory. New Jersey: Prentice – Hall.

Bell, B.; & Gilbert, J. (1996). Teacher Development. A Model from Science Education.London : Falmer Press.

Blase, J.; & Blase, R. (1994). Empowering Teachers: What Successful Principals Do. Thousand Oaks, California : Corwin Press.

Bolin, F. S. (1989). Empowering Leadership. Teacher’s College Record. 91: 81-96.

Clutterbuck & Kernaghan. (1994). The Power of Empowerment. https://www.amazon.co.UK

Search 22 January 2019.

Cunningham,W.G.; & Gresso, D.W. (1993). Cultural Leadership: The Culture of Excellence

in Education. Boston. Allyn and Bacon.

Deci, E.; & Ryan, R. (1985). Intrinsic Motivation and Self-Determination in Human

Behavior. New York : Plenum.

Gibson, C. H. (1993) . A Study of Empowerment in Mothers of Chronically ill Children.

Michigan: Boston College Richard Ryan and Edward Deci . The Intrinsic Motivation.

www.apa.org/members/content/ Search 21 January 2019.

Guttierrez, L.M.; Parsons, R.J.; & Cox, E.O. (1998). Empowerment in Social Work

Practic. A Sourcebook. Pacific Grove : Brooks / Cole

Kinlaw, D. C. (1995) . The Practice of Empowerment : Making the Most of Human Competence. United state of America: Gower Publishing Limited.

Rodwell, C. M. (1996). “An Analysis Concept of Empowerment”. Journal of Advanced Nursing. 23 : 305-313.

Smith, J. (1996). Empowering people.: How to bring out the best in your workforce.

London : Kogan.

Haksever, C.; et.al. (2000). Service Management and Operations. New Jersey: Prentice Hall.

Lashley, C. (1997). Empowering Service Excellence. Beyond the Quick Fix. London. Cassell.

Lampe, D.; & Parr, J. (1996). Empowering Citizens in Handbook of Public Administration. 2nded. Edited by James L.Perry : 196-209 San Francisco: Jossey-Bass.

Rue, L.W.; & Byars. Loyd, L. (1995). Management: Skills & Application. 7th ed. Chicago: Irwin.

John A. Wagner III ,John R. Hollenbeck. (1992). Management of Organizational

Behavior. https://www.researchgate.net/.../40933320 Search 23 January 2019.

Maxcy, J.S. (1991). Educational Leadership. A Critical Pragmatic Perspective Ortario:

OISE Press.

Suk Bling. (1998). A Model of Empowerment for Hong Kong Chinese Cancer Patients and The Role of Self - help Group in the Empowering Process.Dissertation. Ph.D. (Nursing). Hong Kong: Graduate School the Hong Kong Polytechnic University. Photocopied.

เผยแพร่แล้ว

2019-07-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัยพิเศษ