การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ที่บูรณาการกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Enhancing Seventh Grade Students’ Content Knowledge and Critical Thinking Ability Integrated with Science Process Skills through Scientific Inquiry)

ผู้แต่ง

  • กิติศาอร เหล่าเหมมณี (Kitisaorn Laohammanee) ร.ร.สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา
  • นันทรัตน์ เครืออินทร์ (Nantarat Kruea-In)

คำสำคัญ:

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ,ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์, การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์, มัธยมศึกษาตอนต้น

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่บูรณาการกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนแห่งหนึ่งในเขตภาคกลางตะวันตกจำนวน  3  ห้องเรียน  รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด  120  คน เก็บรวบรวมข้อมูลในปีการศึกษา  2559  เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบวัดความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์  2) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  3) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 4 ระดับ ได้แก่1) Confirmed Inquiry 2) Directed Inquiry 3) Guided Inquiry  และ 4) Opened Inquiry ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบขึ้นเน้นให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมในสถานการณ์ที่กำหนดให้ร่วมกับการสะท้อนความคิดเกี่ยวกับการตัดสินความน่าเชื่อถือความถูกต้องและความสอดคล้องของข้อมูลและข้อสรุป โดยครอบคลุมเนื้อหา  5  เรื่องคือ  เซลล์ของสิ่งมีชีวิต  พืช  สารและสมบัติของสาร  สารละลาย  และกรดเบสในชีวิตประจำวัน  ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 14  สัปดาห์ ๆ ละ  3  ชั่วโมงผลการวิจัยพบว่านักเรียนมีพัฒนาการทั้งด้านความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิทยาศาสตร์และมีความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 01ผลจากการสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการพบว่าความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประสบการณ์ในการฝึก และแรงจูงใจในการเรียนรู้ ส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน

 

References

ภาษาไทย
Chetchowwalit, T. (1998). Developmental Psychology for Nursing. 1st edition. Hat Yai: Chanmuang printing.
ทิพย์ภา เชษฐ์เชาวลิต. (2541). จิตวิทยาพัฒนาการสำหรับพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 1. หาดใหญ่ : ชานเมืองการพิมพ์.
Choangchan, A., Lowriendee, W. (2011). “The Development of Instructional Model for the Enhancement of Problem Solving with Critical Thinking Abilities in Science of Fifth Grade Students”. Silpakorn educational research journal 2(2): 94-107.
อารยา ช่ออังชัญ และ วัชรา เล่าเรียนดี. (2554). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา อย่างมีวิจารณญาณกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 2(2): 94-107.
Dechakoop, P. (2001). Teaching and Learning-Oriented student center: The Concept and Teaching Technique. Bangkok: The Master Group Management.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ: แนวคิดวิธีและเทคนิค การสอน. กรุงเทพมหานคร: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้น.
Kammanee, T., et al. (1997). Learning theory for development thinking processes. National Education Commission. Prime Minister’s office. Bangkok: Idea Squash Limited Partnership.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2540). ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดไอเดียแสควร์.
Kammanee, T., et al. (2001). Learning innovation for reform era’s teachers. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Kammanee, T., et al.(2001).Theory of Thinking. Bangkok: The Master Group Management Co., Ltd.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคิด.กรุงเทพมหานคร: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์จำกัด.
Ministry of Education. (2008). Basic Education Core Curriculum B.E. 2551(2008).Bankok: Ro So Pho Printing House.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ ร.ส.พ.
Moolkum, S., et al. (2011). Organizing learning activities that focus on thinking.Bangkok: PappimLimited Partnership.
สุวิทย์ มูลคำ และคณะ. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.
Office of education council. (2010). The improvement national education plan (B.E. 2009-2016). Bangkok: Office of education council.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2552-2559). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Panadso, C. (2012). “Learning activities with inquiry approach on critical thinkingabilities and learning achievement in the topic ofmatter & its characteristicsfor seventh graders”. Master thesis of science education, Kasetsart University.
ชนธิชา ปะนัดโส. (2555). “การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้ที่มีผลต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารและสมบัติของสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์ศึกษา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Rodrangka, W., Dechakoop, P. (1999). The development of teachers' thinking through scientific process skill activities. Bangkok: The Master Group Management Ltd.
วรรณทิพา รอดแรงค้า และ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2542). การพัฒนาการคิดของครูด้วยกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจเม้นท์จำกัด.
Sukpiti, B. (2005). Creating achievement test book 1-3. Nakhonpathom: Petchkasem Printing.
บรรดล สุขปิติ. (2548). การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เล่ม 1-3. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ์.
The institute for the promotion of teaching science and technology. (2005). The expansion and teacher training in inquiry cycle. Bangkok: Faculty of Biology.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์แลเทคโนโลยี. (2548). การเผยแพร่ขยายผลและอบรมครูแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle). กรุงเทพมหานคร: สาขาชีววิทยา.
Sonthago, S. (2007). “Critical Thinking of 3rd Level students learned science by inquiry into knowledge by critical thinking activities”.Journal of educational Prince of Songkla University 18(2): 198-212.
สัณหวัช สอนท่าโก. (2550). “การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ที่เรียนวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้โดยเสริมกิจกรรมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ”.
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์18(2): 198-212.
Thongngam, K.,Lowriendee, W. (2014). “The Development of English Reading Instructional Model Based on Interactive Reading Approach to Enhance Critical Reading Abilities for Eleventh Grade Students”. Silpakorn educational research journal6(2): 67-79.
เกศริน ทองงาม และ วัชรา เล่าเรียนดี. (2557). “การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษตามแนวการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย6(2): 67-79.
Yindeesug, S.,Isarankura Na Ayudhaya, W. (2014). Development of a Social Studies Instructional Model Based on Interactive Constructivist Approach and Self-Regulation to Enhance Critical Thinking and Curiosity of Upper Secondary School Students.Silpakorn educational research journal7(2): 275-287.
ศรัณย์พร ยินดีสุข และ วลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2557). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาตามแนวคิดอินเตอร์แอกทีฟคอนสตรัคติวิสต์และการกำกับตนเอง เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณและความใฝ่รู้ของผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย”. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 7(2): 275-287.

ภาษาต่างประเทศ
American Association for the Advancement of Science. (1993). Benchmarks for Science literacy. New York: Oxford.
Brunsell, E. (2010). Introducing Teachers and Administrators to the NGSS: A Professional development facilitator’s guide.National science teacher association.
Chinn, C. A. and Molhotra, B. A. (2002). Epistemologically authentic inquiry in schools: A theoretical framework for evaluating inquiry tasks. Department of Educational Psychology, Rutgers, The State University of New Jersey, New Brunswick, NJ 08901, USA.
Eilam, B. (2002). Phases of learning: ninth graders' skill acquisition. Research in Science and Technological Education, 20(1), 5-24.
Ennis, H. (2011). The Nature of Critical Thinking: An Outline of Critical Thinking Dispositions and Abilities. University of Illinois.
Facione, P. (2006). Critical Thinking: What It Is and Why It Counts. California Academic Press LLC.
Harlen, W. (1999). Purposes and procedures for assessing science process skills. Assessment in Education: Principles, Policy & Practice, 6(1), 129-144.National Research Council (NRC). (1996). National Science Education Standards. Washington, DC. : National Academy Press.
National Research Council. (2000). Inquiry and National Science Education Standards : A GuideforTeaching and Learning. Washington, D.C. : National Academy Press.
Padilla, J. (1990). The Science Process Skills. University of Georgia, Athens, GA.
Schwab, J. (1960).Inquiry the Science Teacher and the Educator.The University Of Chicago.
Vieira, R. M., and Tenreiro - Vieira, C. (2003). Preservice teachers’ education and the didactics of science as a context to use questioning aimed to promote students’ critical thinking. Revista Portuguesa de Educação, 16(1), 231-252.

เผยแพร่แล้ว

2019-07-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัย