เชือดไก่ให้ลิงดู: รัฐไทยกับการทำลายศัตรูด้วยนาฏกรรม

Main Article Content

ปรีดี หงษ์สต้น

บทคัดย่อ

เหตุการณ์ความรุนแรงคนขับแท็กซี่ถูกทำร้ายปางตายในช่วงปลายปี พ.ศ. 2556 สะท้อนถึง “วัฒนธรรมเชือดไก่ให้ลิงดู” ในสังคมไทย บทความนี้พยายามอธิบายการทำงานของวัฒนธรรมดังกล่าวโดยนำกรอบความคิดเรื่องรัฐนาฏกรรม (theatre state) มาใช้ เพื่อชี้ให้เห็นถึงพระเดชและพระคุณในการปกครองรักษาระเบียบสังคมให้สงบสุขตามหลักจักรวาลทัศน์ของพุทธศาสนาเถรวาทไทย กระบวนการดังกล่าวนี้มีเทคโนโลยีทำหน้าที่อยู่ตรงใจกลาง และเทคโนโลยีนั้นทำงานเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับการทำงานของสมองในทางประสาทวิทยาศาสตร์ บทความนี้จะยกตัวอย่างกรณีการใช้กฎหมายมาตรา 17 ที่ให้อำ นาจนายกรัฐมนตรีเด็ดขาดในการตัดสินประหารชีวิตนักโทษที่เห็นว่าเป็น “มาร” ในสังคมไทยช่วงทศวรรษที่ 2510 ในฐานะวัฒนธรรมเชือดไก่ให้ลิงดูที่ปรากฏออกมาออกมาด้วยเทคโนโลยีของหนังสือพิมพ์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชนิดา ชิตบัณฑิตย์. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ: การสถาปนาพระราชอำนาจนำในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2550.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. แปลโดยพรรณี ฉัตรพลรักษ์ และ ม.ร.ว.ประกายทอง สิริสุข. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526.

ธงชัย วินิจจะกูล. กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ. กรุงเทพฯ: สําานักพิมพ์อ่าน, 2556.

ธงชัย วินิจจะกูล. “สถาบันกษัตริย์กับฝ่ายต่อต้านเครือข่ายกษัตริย์: ช้างสองตัวในห้องการเมืองไทยกับสภาวะปฏิเสธความเป็นจริง.” ใน ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่. แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556.

ธเนศ วงศ์ยานนาวา. “อภัยวิถี: เทววิทยาการเมือง ความทรงจำ และความหลงลืมของประวัติศาสตร์ไทย.” รัฐศาสตร์สาร 22, ฉ.1 (2543): 130-183.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. “บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 2506-2516.” วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “รัฐนาฏกรรมอีกที.” ใน มติชนสุดสัปดาห์, 10-16 สิงหาคม 2555: 30.

เบน แอนเดอร์สัน. ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. เชียงใหม่: ตรัสวิน, 2539.

แพทริก โจรี. “คาร์ล ป็อปเปอร์ กับวิกฤตการเมืองไทย: สถาบันกษัตริย์กับปัญหาของ ‘สังคมเปิด’.” ใน วารสารอ่าน 4, ฉ.1 (เมษายน-มิถุนายน 2555): 154-167.

Anderson, Ben. “The Idea of Power in Javanese Culture.” In Language and Power: Exploring political culture in Indonesia, 17-77. Jakarta: Equinox, 2006 (1990).

Carr, Nicholas. The Shallows: What the Internet is Doing to Our Brains. New York: W. W. Norton & company, 2010.

Carroll, Stuart. “Introduction.” In Cultures of Violence Interpersonal Violence in Historical Perspective. Edited by Stuart Carroll, 1-43. Hampshire: Palgrave Macmillian, 2007.

Geertz, Clifford. Negara: The Theatre State in Nineteenth Century Bali. Princeton: Princeton University Press, 1980.

Geertz, Clifford. “Centers, Kings, and Charisma: Reflactions on the Symbolics of Power.” in Local Knowledge: Further Essays in Interpretive Anthropology, 121-146. New York: Basic Books, 1983.

Haberkorn, Tyrell. Revolution Interrupted: Farmers, Students, Law, and Violence in Northern Thailand. Wisconsin: The University of Wisconsin Press, 2011.

Lim, Samson. “The Case of Volunteer 8: Proof, Violence, and History in Thai Society.” Critical Asian Studies 43, no.3 (2011): 399-420.

Reynolds, Craig J. “Power.” in Critical Terms for the Study of Buddhism, edited by Donald S. Lopez Jr. Chicago: Chicago University Press, 2005. 211-228.

Reynolds, Craig J. “Paradigms of the Premodern State.” in Seditious Histories: Contesting Thai and Southeast Asian Pasts. 31-52. Seattle: University of Washington Press, 2006.

Vickers, Adrian. “History and Social Structure in Ancient Java: A Review Article.” In Review of Indonesian and Malayan Affairs 20, no.2 (Summer, 1986): 156-185.

Wolters, O.W. History, Culture, and Region in Southeast Asian Perspectives. Ithaca, NY: Cornell University Press, 1999.