ความเชื่อแบบพุทธไทยในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2508-2519

Main Article Content

นนทวุฒิ ราชกาวี

บทคัดย่อ

นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 ที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยได้ประกาศจับอาวุธขึ้นสู้กับรัฐบาลจนถึงเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เป็นช่วงที่คอมมิวนิสต์ถือเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของชาติ รัฐไทยได้ใช้อุดมการณ์ “ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” ในการรณรงค์ต่อต้านคอมมิวนิสต์ และในการรณรงค์นี้พระพุทธศาสนาในฐานะหนึ่งในสามอุดมการณ์หลักของชาติก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านคอมมิวนิสต์โดยกล่าวว่าคอมมิวนิสต์นั้นเป็นสิ่งตรงข้ามกับศาสนา และนอกจากนั้นยังมีการประกอบกิจกรรมและพิธีกรรมที่นำความเชื่อแบบพุทธไทยมาสนับสนุนการต่อต้านคอมมิวนิสต์อีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงมหาดไทย. พระพุทธนวราชบพิตร. พระนคร: กรมการปกครอง, 2510.

ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์. ประวัติศาสตร์ผ่านพระเครื่อง: คติความเชื่อและพุทธพาณิชย์. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.

นพ ท่าพระจันทร์ [นามแฝง]. พระราชศรัทธา. กรุงเทพฯ: นพวรรณ, 2545.

เบเนดิก แอนเดอร์สัน. บ้านเมืองของเราลงแดง: แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม: จาก 14 ถึง 6 ตุลา, แปลโดย เกษียร เตชะพีระ, ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, และชาญวิทย์ เกษตรศิริ, พิมพ์ครั้งที่ 4.กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2551.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลาฯ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

ประเสริฐ สุโขธนัง. รวบรวม. “สัมภาษณ์ ฯพณฯ ทูตสันติภาพ อาจารย์สุชาติ โกศลกิติวงศ์ โดย คุณอัสนี เก่งระดมยิง ในรายการเพื่อไตรรงค์ ของสถานีวิทยุ สทร. เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2520 เวลา 6.00 น..” สื่อมวลชนสัมภาษณ์ทูตสันติภาพ. กรุงเทพฯ: โครงการธรรมไมตรี, 2522.

วิษณุ รัตนโมรานนท์. รวบรวม. ยอดพระเครื่องแห่งยุค: พระสมเด็จ 9 ประเทศ พระสมเด็จรุ่นสุดท้ายในโลกมนุษย์. กรุงเทพฯ: โครงการธรรมไมตรี, 2539.

สุธน ศรีหิรัญ. “พระมหาว่าน เขาอ้อ ปี 2511.” “เพชรน้ำเอกแห่งทักษิณ”พระอาจารย์นำชินวโร. กรุงเทพฯ: บางกอกสาส์น, 2553.

ผาสุก พงษ์ไพจิตร, คริส เบเคอร์. เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ, พิมพ์ครั้งที่ 3 ปรับปรุงเพิ่มเติม. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์ซิลค์เวอร์ม, 2546.

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช. กระแสพระราชดำรัส พระราชทานพรแก่ประชาชนชาวไทย ในวารดิถีขึ้นปีใหม่ พ.ศ. 2509 ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2493-2548. กรุงเทพฯ: กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ, 2550.

พวงทอง รุ่งสวัสดิทรัพย์ ภวัครพันธุ์. สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ “รัฐไทย”. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2549.

พิริยะ ไกรฤกษ์. ลักษณะไทย 1 พระพุทธปฏิมา อัตลักษณ์พุทธศิลป์ไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2551.

เพลินพิศ กำราญ. พระพุทธปฏิมา รัชกาลที่ 9 ทรงสร้าง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2533.

วสิษฐ เดชกุญชร. รอยพระยุคลบาท. กรุงเทพฯ: มติชน, 2544.

ศรีเพ็ญ จัตุทะศรี. บันทึกการติดต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ‘พระเจดีย์อิสรภาพ’. บันทึกการติดต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ภาคผนวก). กรุงเทพฯ: วิญญาณ, 2518.

สมบูรณ์ สุขสำราญ. พุทธศาสนากับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527); พุทธศาสนากับความชอบธรรมทางการเมือง. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.

เจ้าคุณพินิจ [นามแฝง]. “98 ปี หลวงปู่โสฬส เกจิอาจารย์ดังแห่งประจันตคาม.” ตำรวจไทย 15, ฉ.87 (พฤษภาคม 2555): 60-61.

ชลี สัมโพธิปัญญา [นามแฝง]. “พระอรหันต์ทำพิธีกู้ชาติไทย ตอน 1.” สกุลไทยรายสัปดาห์ 22, ฉ.1103 (9 ธันวาคม 2518): 59.

ชลี สัมโพธิปัญญา [นามแฝง ]. “พระอรหันต์ทำพิธีกู้ชาติไทย ตอน 8.” สกุลไทยรายสัปดาห์ 22, ฉ.1110 (27 มกราคม 2519): 59.

ณัฐพล ใจจริง. “พระบารมีปกเกล้าฯ ใต้เงาอินทรี: แผนสงครามจิตวิทยาอเมริกันกับการสร้างสถาบันกษัตริย์ให้เป็น ‘สัญลักษณ์’ แห่งชาติ.” ฟ้าเดียวกัน 9, ฉ.2 (เมษายน-มิถุนายน 2554): 108-109.

ปราการ กลิ่นฟุ้ง. “ตามรอยพระยุคบาท: การเสด็จพระราชดำเนินกับการต่อต้านคอมมิวนิสต์.” ฟ้าเดียวกัน 6, ฉ.4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2551): 176-212.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. “ประวัติศาสตร์วันชาติไทย จาก 24 มิถุนา ถึง 5 ธันวา.” ฟ้าเดียวกัน 2, ฉ.2 (เมษายน–มิถุนายน 2547): 120-121.

สมศักดิ์ เจียมธีรสุกล. “’7 สิงหา’ (2508) ไม่น่าจะใช่ ‘วันเสียงปืนแตก’ (8 สิงหา ต่างหาก!).” มติชนสุดสัปดาห์ 22, ฉ.1252 (13-19 สิงหาคม 2547): 25-26.

สิทธิพล เครือรัฐติกาล. “สถาบันพระมหากษัตริย์กับนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคสงครามเย็น.” ฟ้าเดียวกัน 6, ฉ.4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2551): 157-174.

ปราการ กลิ่นฟุ้ง. “การเสด็จพระราชดำเนินท้องที่ต่างจังหวัดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ. 2493-2530.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มท.0201.2.1.57/1 เอกสารกระทรวงมหาดไทย กองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงเรื่อง การสำรวจข้าราชการที่นิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ (พ.ศ.2491-2492).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สบ.18.7/5 เอกสารส่วนบุคคล นายบุญชนะ อัตถากร เอกอัครราชทูตประจำประเทศสหรัฐอเมริกา เรื่องบันทึกความทรงจำเรื่องต่างๆ (4-30 ก.ย. 2511).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. มท.0201.2.1.57/2 เอกสารกระทรวงมหาดไทย กองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวง เรื่องตักเตือนข้าราชการให้ช่วยระวังภัยคอมมิวนิสต์และการโฆษณาของฝ่ายคอมมิวนิสต์ (พ.ศ. 2493-2494).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สบ.5.5/42 เอกสารส่วนบุคคล ม.ล.ปิ่น มาลากุล คณะกรรมการ เรื่องกรรมการสร้างพระพุทธรูป ภ.ป.ร. (พ.ศ. 2507-2509).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. สบ.5.5/82 เอกสารส่วนบุคคล ม.ล.ปิ่น มาลากุล คณะกรรมการ เรื่องคณะกรรมการสร้างพระพุทธรูป ภ.ป.ร. (พ.ศ. 2516-2517).

Charles F. Keyes. “Political Crisis and Militant Buddhism in Contemporary Thailand.” in Religion and Legitimation of Power in Thailand, Laos, and Burma, edited by Bardwell L. Smith (Chambersburg PA: ANIMA Books, 1978), 147-164.

Kasian Tejapira. Commodifying Marxism: The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958. Kyoto: Kyoto University Press, 2001.

Katherine A. Bowie. Ritual of National Loyalty. New York: Columbia University Press, 1997.

Paul M. Handley. The king Never Smiles: A Biography of Thailand’s Bhumibol Adulyadej. New Haven: Yale University Press, 2006.

Richard A. Ruth. In Buddha’s Company: Thai Soldier in the Vietnam War. Honolulu: University of Hawai’s Press, 2011.

Charles F. Keyes. “Buddhism and National Integration in Thailand.” The Journal of Asian Studies 30, no.3 (May, 1971): 551-567.

Karen E. Fields. “Political Contingencies of Witchcraft in Colonial Central Africa: Culture and the State in Marxist Theory.” Canadian Journal of African Studies 16, no.3 (1982): 567-593.