“เท่าๆ กับหัวใจก็เห็นจะไม่ไกลกันนัก”: การเผยแพร่ความรู้เรื่องฟันและทันตกรรมสมัยใหม่ ในสังคมกรุงเทพฯ

Main Article Content

ปรีดาภรณ์ เอี่ยมแจ๋

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษาการเผยแพร่ความรู้เรื่องฟันและทันตกรรมสมัยใหม่ในสังคมกรุงเทพฯ ช่วงทศวรรษ 2450-2480 คำถามหลักของงานคือ วัฒนธรรมฟันขาวจากโลกตะวันตกถูกทำให้เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในสังคมกรุงเทพฯ ได้อย่างไร และผู้คนคิดอย่างไรกับวัฒนธรรมฟันขาวจากการศึกษาพบว่า วัฒนธรรมฟันขาวถูกแนะนำและเผยแพร่ผ่านโรงเรียน คู่มือดูแลสุขภาพ วรรณกรรม โฆษณา ภาพ การบริการด้านทันตกรรม และนโยบายด้านสาธารณสุข อย่างไรก็ตาม สถิติทันตสุขภาพได้แสดงให้เห็นว่า ผู้คนรู้จักฟันขาวในฐานะที่เป็นเครื่องแสดงความทันสมัยแบบโลกตะวันตกมากกว่าที่จะตระหนักถึงความสำคัญของฟันขาวในทางสุขภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

“60 ปี เกียรติภูมิทันตแพทย์กองทัพบก.” Thai Dental Magazine 5, ฉ.17 (มกราคม-มีนาคม 2011): 32.

กรมศึกษาธิการ. หลักสูตร์มูลศึกษา สำหรับเรียนชั่วเวลา 2 หรือ 3 ปี อายุแต่ปีที่ 7 ถึงปีที่ 9. พิมพ์ครั้งแรก. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ์, ร.ศ.128 (2452/2453).

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. เอกสารของกรมวิชาการ ชุดพัฒนาการทางการศึกษา อันดับที่ 2 ความเป็นมาของหลักสูตรสามัญศึกษา. ม.ป.ท., ม.ป.ป.

กรุงเทพฯ วารศัพท์. (5 ตุลาคม 2476).

กรุงเทพฯ วารศัพท์. (21 มิถุนายน 2477).

“ข้อถาม-คำตอบ.” ข่าวแพทย์ 9, ฉ.3 (กันยายน, 2479): 186-187.

คำชี้แจงการสาธารณสุข. พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ อำมาตย์เอกพระยาสุนทรพิมล (เผล่ วสุวัต) ณ วัดสัมพันธวงศ์ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2465, ม.ป.ท..

จินตนา สรายุทธพิทักษ์. การสอนสุขศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.

จือ สัมมาทัต. “ปากเหม็น.” ข่าวแพทย์ 3, ฉ. 1 (กรกฎาคม, 2473): 14-19.

จือ สัมมาทัต. “การสวมและใส่ฟันใหม่.” ข่าวแพทย์ 4, ฉ.5 (พฤศจิกายน, 2474): 264-267.

จือ สัมมาทัต. “อันตรายในการถอนฟัน.” ข่าวแพทย์ 9, ฉ.3 (กันยายน, 2479): 183-186.

ชนินทร์ เตชะประเสริฐวิทยา. วงการทันตแพทย์ไทยและทำเนียบทันตแพทย์. กรุงเทพฯ: ทันตแพทย์สมาคมแห่งประเทศไทย, 2526.

ตำนานสภากาชาดสยาม เล่ม 1 พระนคร: โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, 2468.

เนื่อง นิลรัตน์, ม.ล. ชีวิตในวัง เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพฯ, 2545.

บทกล่อมอนามัยและอนามัยสงเคราะห์. พิมพ์ในงานปลงศพ โป๊ย กะรัสนันทน์ 18 พฤษภาคม 2473 ณ วัดจักรวรรดิราชาวาส จังหวัดพระนคร. พระนคร: โรงพิมพ์ศรีหงส์, 2473.

บรัดเลย์, ดี บี. ประชุมพงศาวดารภาคที่ 31 จดหมายเหตุเรื่องมิชชันนารีอเมริกันเข้ามาประเทศสยาม. แปลโดย ป่วน อินทุวงศ์. พระนคร: องค์การค้าคุรุสภา, 2508.

บรัดเลย์, วิลเลี่ยม แอล. สยามแต่ปางก่อน: 35 ปีในบางกอกของหมอบรัดเลย์. แปลโดย ศรีเทพ แววหงษ์ และ ศรีลักษณ์ สง่าเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน, 2547.

บัลค์ลีย์, เอ็ดน่า บรูเนอร์ และ สแตนตัน, แมรี่ บัลค์ลีย์. สยามคือบ้านของเรา. แปลโดย เด็กวัฒฯ รุ่น 100. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะบุคคลวัฒนา รุ่น 100, 2551.

ประชาชาติ (2 ตุลาคม 2476).

ประชาชาติ (14 เมษายน 2481).

พ. เนตรรังษี. โลกละคร. ธนบุรี: กรุงธน, 2507.

แพทยพงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช), พระยา. “การทำฟัน.” ข่าวแพทย์ 1, ฉ.1 (กรกฎาคม, 2471): 3-9.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. หนังสือคู่มือทหารและเสือป่า ว่าด้วย กันป่วย. พิมพ์แจกในงานศพ พระตำรวจเอก พระยาอนุชิตชาญไชย (สาย สิงหเสนี) และคุณหญิงอนุชิตชาญไชย (เชย สุวรรณทัต) วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2465.

ยลสลวย อิศรางกูร ณ อยุธยา. “การบริการทางด้านทันตกรรมในประเทศไทย: การศึกษาการจัดองค์การและการบริหาร” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาสังคมวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519.

ลาวัณย์ โชตามระ. ชีวิตชาวกรุงสมัยค่อนศตวรรษมาแล้ว และชีวิตชาวกรุงสมัยสงคราม. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา, 2527.

วารุณี โอสถารมย์. “การศึกษาในสังคมไทย พ.ศ. 2411-พ.ศ. 2475.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524.

วิทยวุฒิ, ขุน (ผู้เรียบเรียง). แบบสอนการรักษาตัว สำหรับชั้นประถมปีที่ 1. พระนคร: กรมตำรา กระทรวงธรรมการ, 2469.

วิทยวุฒิ, ขุน (ผู้เรียบเรียง). หนังสือสำหรับครู แบบสอนการรักษาตัว สำหรับชั้นประถมปีที่ 2. พระนคร: กรมตำรา กระทรวงธรรมการ, 2471.

เวชสิทธิ์พิลาศ, พระยา. “การตรวจร่างกายนักเรียน.” จดหมายเหตุทางแพทย์ 13, ฉ.1 (เมษายน 2473): 5-25.

เวชสิทธิ์พิลาศ, พระยา. การรักษาตัว. ม.ป.ท.: 2472.

ศักดา ศิริพันธุ์. กษัตริย์ &กล้อง: วิวัฒนาการการถ่ายภาพในประเทศไทย พ.ศ. 2388-2535. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์, 2535.

เศวต ทัศนบรรจง. ประวัติทันตแพทยศาสตร์ (ยุคโบราณ ถึงปัจจุบัน). กรุงเทพฯ: ภาควิชาทันตกรรมสำหรับเด็ก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2534.

สรรใจ แสงวิเชียร, ศาสตราจารย์พิเศษ นายแพทย์. “120 ปี โรงเรียนแพทย์ศิริราช.” เวชบันทึกศิริราช 3, ฉ.2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553): 65.

สรศัลย์ แพ่งสภา. บ้านย่าไผ่ ฟื้นความจำชีวิตวัยเด็กสมัยรัชกาลที่ 6. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2545.

เสรี พงศ์พิศ. คาทอลิกกับสังคมไทย: สี่ศตวรรษแห่งคุณค่าและบทเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2527.

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (2) สร. 0201.27/17 เรื่อง การอบรมช่างทำฟันหรือทันตแพทย์ (24 ส.ค. 2485-15 ก.ค. 2496).

หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารสำนักนายกรัฐมนตรี (2) สร. 0201.10/51 เรื่อง แนะนำชักชวนให้เลิกรับประทานหมาก (25 มกราคม 2482-24 กุมภาพันธ์ 2487).

อิงอร (นามแฝง). ดรรชนีนาง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ประพาสต้น, 2491.

อนุมานราชธน, พระยา. ความรู้ทางการกระจายเสียงของกรมโฆษณาการ ภาคที่ 7 เรื่อง “กินหมาก” และ “มีเรือน.” บรรยายเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2484. พิมพ์แจกเป็นที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ นางสุดใจ เลขะวณิช ณ วัดไตรมิตรวิทยาราม พระนคร, ม.ป.ท.: 2485.

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พันเอก (พิเศษ) หญิง ประศรัย จินตกานนท์ ท.ม., ท.ช. 10 เมษายน 2534 ณ วัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพมหานคร.

อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ พันเอกหลวงวาจวิทยาวัทฒน์ ม.ว.ม., ป.ช. (วาด แผ้วภูวดล แย้มประยูร) ณ เมรุหน้าพลับพลาอิสริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส 26 กันยายน 2509. พระนคร: แพร่การช่าง, 2509.

เอกสารสาธารณสุข เรื่อง สุขวิทยาส่วนตัว. พิมพ์แจกในการศพ คุณหญิงเวชสิทธิ์พิลาศ (ทองคำ วิภาตแพทย์) ณ วัดดวงแข ถนนรองเมือง วันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2479. พระนคร: โรงพิมพ์เดลิเมล์, 2479.

Peleggi, Maurizio. “Re-fashioning Civilization: Dress and Bodily Practice in Thai Nation-Building.” In Louise Edwards and Mina Roces, Eds., Gender, Nation and the P o l i t i c s o f Dress in Asia and the Americas. Eastbourne: Sussex Academic Press, 2008.

Runchana P., Suksod-Bargar. Religious Influences in Thai Female Education (1889-1931). Cambridge: James Clarke & Co Ltd, 2014.

Sivulka, Juliann. Soap, Sex, and Cigarettes: A Cultural History of American Advertising. Belmont, Calif: Wadsworth Pub. Co, 1998.

Thompson, P. A. Siam: An Account of the Country and the People. Boston: J. B. Millet, 1910.

Vilaithong, Villa. “A Cultural History of Hygiene Advertising in Thailand, 1940s-early 1980s.” Ph.D. diss., The Australian National University, 2006.