A SUPPLY CHAIN MODEL FOR ENABLING COLLABORATIVE FREIGHT DISTRIBUTION IN THAILAND’S NEWSPAPER INDUSTRY

Main Article Content

Chattharn Limoubpratum

Abstract

Abstract

 

Thailand newspaper supply chain is facing ineffective freight distribution practices due to half-loaded vehicles and substantial fuel consumption. Logisticians in the field of freight distribution and movement have argued for co-opetition and collaborative freight distribution approach. This study, therefore, aims to explore whether co-opetition has positive impact on collaborative freight distribution. A survey-based research methodology was employed to collect data from newspaper companies, news agents and transporters in Thailand. The survey resulted in a final sample of 225 firms, representing a 45% response rate. The measurement items were subjected to preliminary data analysis before exploratory and confirmatory analyses were carried out. Structural equation modeling (SEM) analysis was employed to establish the structural model and test hypothesised relationships among the variables. The results yielded by the SEM/path analysis indicated that a co-opetition is a critical enabler of collaborative freight distribution. Moreover, management commitment, relationship management, and communication management are antecedent factors of co-opetition for enabling collaborative freight distribution.

Keywords: Supply chain management, Collaborative freight distribution, Co-opetition, Newspaper industry

บทคัดย่อ

 

อุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์ไทยกำลังประสบปัญหาการกระจายสินค้าอันเนื่องมาจากการขนส่งไม่เต็มคันรถและการใช้เชื้อเพลิงที่เกินความจำเป็น นักห่วงโซ่อุปทานจึงได้เสนอแนวคิดในการสร้างความร่วมมือระหว่างบริษัทคู่แข่งและการร่วมมือกันในการกระจายสินค้าดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการสร้างความร่วมมือระหว่างบริษัทคู่แข่งต่อการร่วมมือในการกระจายสินค้า  ดำเนินการโดยการเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างซื่งเป็นบริษัทหนังสือพิมพ์ ร้านขายหนังสือ และบริษัทขนส่ง ในประเทศไทย และได้การตอบรับจำนวน 225 บริษัท หรือ 45% เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคาระห์ข้อมูลประกอบด้วย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการสร้างโมเดลสมการโครงสร้าง

ผลวิจัย พบว่าการสร้างความร่วมมือระหว่างบริษัทคู่แข่งส่งผลเชิงบวกต่อการร่วมมือในการกระจายสินค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อีกทั้งยังพบว่า ความมุ่งมั่นในการบริหาร การสร้างความสัมพันธ์ และการบริหารการสื่อสาร เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างความร่วมมือระหว่างบริษัทคู่แข่ง ที่มีผลเชิงบวกต่อการร่วมมือในการกระจายสินค้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

คำสำคัญ : การจัดการห่วงโซ่อุปทาน, ความร่วมมือด้านการขนส่ง, ความร่วมมือระหว่างคู่แข่ง, อุตสาหกรรมหนังสือพิมพ์

Article Details

How to Cite
Limoubpratum, C. (2017). A SUPPLY CHAIN MODEL FOR ENABLING COLLABORATIVE FREIGHT DISTRIBUTION IN THAILAND’S NEWSPAPER INDUSTRY. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 11(25), 9–27. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/85601
Section
บทความวิจัย