พยากรณ์พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ ตำบลสองพี่น้อง จังหวัดจันทบุรี

Main Article Content

วิทมา ธรรมเจริญ
นิทัศนีย์ เจริญงาม

Abstract

Abstract


This research aimed to study the self-health care behaviors of elderly people and to construct predictive equation for self-health care behaviors of the elders in Songpeenong subdistrict, Thamai district, Chanthaburi province. The two-stage sampling was used with a sample of 276 elderly people by interview. The descriptive statistics, including percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlation, also the inferential statistics including stepwise multiple regression analysis were used as analytical statistics. The results showed that the self-health care behaviors of the elders were at good level ( ). The five related variables included mental integrity ( ), information support ( ), physical integrity ( ), tangible support ( ) and income support from descendants ( ) could explain the self-health care behaviors of elderly people at 46.7 percent. When assigning  as the self-health care behaviors of the elderly people, it could construct predictive equation for self-health care behaviors of the elders as the model shown: . 


Keywords: predicting; self-health care behaviors; elder

Article Details

Section
Physical Sciences
Author Biographies

วิทมา ธรรมเจริญ

ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000

นิทัศนีย์ เจริญงาม

ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000

References

[1] สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2557, การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557, กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสาร, กรุงเทพฯ.
[2] ประนอม โอทกานนท์, 2554, ชีวิตที่สุขสมบูรณ์ของผู้สูงอายุไทย หลักการ งานวิจัย และบทเรียนจากประสบการณ์, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
[3] คณิณญา พรนริศ, 2546, โภชนาการผู้สูงอายุ, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, เชียงใหม่.
[4] สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, สุขภาพคนไทย, แหล่งที่มา : http://www.hiso.or.th/hiso5/report/ThaiHealth.php?m=2, 23 พฤษภาคม 2561.
[5] มนตรี ประเสริฐรุ่งเรือง และดุษฎี อายุวัฒน์, 2559, การสร้างทางเลือกในการพึ่งพาตนเองอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุรุ่นใหม่, ว.ประชากร. 4(2): 23-45.
[6] กรมกิจการผู้สูงอายุ, นโยบายของกรมกิจการผู้สูงอายุ, แหล่งที่มา : http://www.dop.go.th/th, 19 มีนาคม 2561.
[7] สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์, รมว. พม. ลงพื้นที่ จ.จันทบุรี เยี่ยมผู้สูงอายุ สานต่อภารกิจลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ, แหล่งที่มา : https://gnews.apps.go.th/news?news=8366, 25 มิถุนายน 2561.
[8] สุรเกียรติ อาชานุภาพ, 2533, นานาทัศนะต่อความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง, ว.วิจัยพฤติกรรมสุขภาพ 2(2): 5.
[9] สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี, สถิติการเพาะปลูกทุเรียน จังหวัดจันทบุรีปีการเพาะปลูก 2538-2556, แหล่งที่มา : http://www.chanthaburi.doae.go.th/data1/static_planting2.htm, 4 ธันวาคม 2560.
[10] เตือนใจ บุญหลง, สุชาติ วิจิตรานนท์ และแสงมณี ชิงดวง, 2546, โรครากเน่าโคนเน่า, สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
[11] กรมวิชาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการ เกษตร, 2558, ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืช, แหล่งที่มา : http://www.oae.go.th, 20 เมษายน 2561.
[12] นักวิจัยมูลนิธิชีววิถี, การประชุมวิชาการเพื่อการเฝ้าระวังสารเคมีทางการเกษตร, แหล่งที่มา : http://www.biothai.net/sites/default/files/pesticide_conference_doc_1.pdf, 23 พฤษภาคม 2561.
[13] สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามหมวดอายุ เป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2556, แหล่งที่มา : http://chanthaburi.old.nso.go.th/nso/project/search/index.jsp?province_id=22, 1 พฤษภาคม 2561.
[14] บรรลุ ศิริพานิช, 2540, คู่มือผู้สูงอายุฉบับสมบูรณ์, สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน, กรุงเทพฯ.
[15] Orem, E.D., 1980, Nursing: Concepts of Practice, McGraw Hill, New York.
[16] ศุภวรินทร์ หันกิตติกุล, 2539, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดลำปาง, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
[17] Orem, E.D., 1985, Nursing: Concepts of Practice, 2nd Ed., McGraw Hill, New York.
[18] สุขเกษม ร่วมสุข, 2553, พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุจังหวัดอำนาจเจริญ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
[19] ขนิษฐา โกเมนทร์, 2547, ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โรงพยาบาลค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[20] สัญญา รักชาติ, 2544, พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดเชียงใหม่, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, เชียงใหม่.
[21] ประเวศ วะสี, 2543, สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์, พิมพ์ครั้งที่ 3, สำนักงานปฏิรูปสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, นทบุรี.
[22] พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550, 2550, มีนาคม 19, ราชกิจจานุเบกษา, เล่มที่ 124 ตอนที่ 16ก, หน้า 1.
[23] สมพร ใจสมุทร, 2547, พฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเขตลาดกระบัง, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
[24] Tiden, V.P., 1985, Issues of conceptualization and measurement of social support in the construction of nursing theory, Res. Nurs. Health 8:199-206.
[25] นิภาภัทร อยู่พุ่ม, การนอนหลับอย่างมีคุณภาพของผู้สูงอายุ, แหล่งที่มา : http://www.stou.ac. th/stoukc/elder/main1_2.html, 23 พฤษภา คม 2561.
[26] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2560, การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ, แหล่งที่มา : http://www.thaihealth.or.th, 23 พฤษภาคม 2561.
[27] Hill, L. and Smith, N., 1990, Self-Care Nursing Promotion of Health, Prentice Hall, New Jersey.
[28] องค์การบริหารส่วนตำบลสองพี่น้อง, 2560, รายชื่อผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เทศบาลตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี, จันทบุรี.
[29] สรายุทธ กันหลง, การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม Cronbach’s alpha, แหล่งที่มา : http://www.ipernity.com/blog/248956/424773.
[30] นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2553, ชุดวิชา 21701 การวิจัยหลักสูตรและการเรียนการสอน หน่วยที่ 7 การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และหน่วยที่ 10 สถิติวิเคราะห์เชิงปริมาณ : สถิติบรรยายและสถิติพาราเมตริก, เอกสารประกอบการสอน, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
[31] Stevens, J., 1992, Applied Multivariate Statistics for the Social Sciences, Hillsdale, Lawrence Erlbaum Associates, Australia.