องค์ประกอบอนินทรีย์ของดินตะกอนในพื้นที่เลี้ยงหอยแครง บริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

ณัฐชนน เจาวัฒนา
จินตนา สและน้อย
กัญจน์นรี ช่วงฉ่ำ

Abstract

Abstract


Comparative study of mineral composition deposited in the sediment of blood cockle culture area in Ban Don Bay, Surat Thani province, was investigated. Sediment samples were collected in rainy season (August) from eight stations of the east and the west coasts of Ban Don Bay. Three replications each were done and those samples were compared to the ones kept from the Tapi river mouth. X-Ray Diffraction Technique (XRD) was use for analysis inorganic compounds. The results showed that the sediment characteristics were different among three areas. They indicated sandy clay, sandy soil and clay characters sampled from the east coast, west coast and the Tapi river mouth, respectively. There were 12 types of minerals deposited in the sediments; quartz, sanidine, montmorillonite foresterite, calcium oxide, calcium titanium, carnallite, neotocite, orthoclase iron oxide, mica and olivine. The basic minerals found in all stations were quartz, sanidine and montmorillonite. The composition of minerals in the east coast around Tha thong estuary (Station 2 and 3) was like the Tapi river mouth area more than those from the west coast around Tha chang estuary (Station 7 and 9) and Pumreang (station 10, 11 and 12). Mineral elements in Tapi river mouth area and the east coast of Ban don bay were found forsterite and calcium oxide found in the station 2, but not in station 3, however, it had found iron oxide in station 3 which showed the same as that in the west coast of Bandon bay. 


Keywords: composition of inorganic compound; sediment, X-ray diffraction technique (XRD)

Article Details

Section
Physical Sciences
Author Biographies

ณัฐชนน เจาวัฒนา

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

จินตนา สและน้อย

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

กัญจน์นรี ช่วงฉ่ำ

ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

References

[1] กฤตพล ยังวนิชเศรษฐ, จินตนา โสภากุล และอำนวย อุ่นฤกษ์, 2542, คุณภาพน้ำบริเวณแหล่งเลี้ยงหอยตะโกรมอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ระหว่าง พ.ศ. 2537-2539, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.
[2] บุสยา ปล้องอ่อน, จินตนา สและน้อย, ชัชรี แก้วสุรลิขิต, ไพลิน จิตรชุ่ม, Yuki Okamoto, Satoshi Ishikawa และ Kasuya Watanabe, 2559, การแพร่กระจายของแพงก์ตอนพืชและคุณภาพน้ำบริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24(4): 588-598
[3] มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2550, การวางแผนการจัดการอ่าวบ้านดอนและเกาะนอกชายฝั่ง : การวิเคราะห์และวินิจฉัยระบบชายฝั่ง,รายงานฉบับสมบูรณ์, โครงการการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช.
[4] กลุ่มงานวิจัยและวิเคราะห์สถิติการประมง, 2559, สถิติการเลี้ยงหอยทะเลประจำปี 2557, เอกสารฉบับที่ 2/2559, ศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ, 34 น.
[5] ชนากานต์ สุขอุดม, เมธี แก้วเนิน, อิสริยา วุฒิสินธุ์, Takashi Yoshikawa, Yuki Okamoto, Kasuya Watanabe, Satoshi Ishikawa และ จินตนา สและน้อย, 2558, ปริมาณสารอินทรีย์และค่าความเป็นกรด-ด่างของดินตะกอนในพื้นที่เลี้ยงหอยแครงบริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราฏร์ธานี, แก่นเกษตร 43(2): 265-276.
[6] เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์, พิศิษฐ์ ตุลยกูล และจารุมาศ เมฆสัมพันธ์, 2546, การแพร่กระจายของธาตุอาหารในบริเวณปากแม่น้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด : การประเมินการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลและอัตราการไหลลงทะเล, การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41, มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[7] ทองทิพย์ วงษ์ศิลป์, จินตนา สและน้อย, กังสดาลย์ บุญปราบ, Takashi Yoshikawa, Yuki Okamoto และ Satoshi Ishikawa, 2559, การสะสมโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตในดินตะกอนบริเวณพื้นที่เพาะเลี้ยงหอยแครง (Anadara granosa) ในอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฏร์ธานี, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24(2): 310-319.