ปัจจัยทำนายพฤติกรรมและรูปแบบกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

สิวลี รัตนปัญญา

Abstract

Abstract


The aim of this study was to examine the predictive factors of behaviors and activities of dengue hemorrhagic fever prevention in 357 people at Mae Rim District, Chiang Mai Province. The conceptual framework of this research based on the health promotion model of Green and Kreuter which are the predisposing factors, enabling factors and reinforcing factors. Data were analyzed and presented as percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The results revealed that the levels of knowledge toward dengue hemorrhagic fever were fair. Meanwhile, the levels of attitude toward dengue hemorrhagic fever was fair-good. The enabling factors and reinforcing factors were medium-high. Furthermore, the prevention dengue behavior was good. The variables can be significantly predicted of preventive behavior against dengue hemorrhagic fever were knowledge, the enabling factors and reinforcing factors (p < 0.001, 0.004, and 0.009, respectively). The findings suggested that community health teams should focus on promoting the understanding on knowledge of dengue prevention and encouraging people’s participation on prevention of dengue hemorrhagic fever in the community. Moreover, the strategic plan and resource allocation support should be arranged, in order to sustainable dengue prevention behaviors in the community to prevent dengue fever. 


Keywords: predictive factor; preventive behavior against dengue fever; predisposing factor; enabling factor; reinforcing factor

Article Details

Section
Medical Sciences
Author Biography

สิวลี รัตนปัญญา

ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

References

[1] Bhatt, S., Gething, P.W., Brady, O.J., Messina, J.P., Farlow, A.W., Moyes, C.L. and Hay, S.I., 2013, The global distribution and burden of dengue, Nature 496: 504-507.
[2] สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง, 2557, สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2556, กรมควบคุมโรค, นนทบุรี, 6 น.
[3] สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง, 2558, สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2557, กรมควบคุมโรค, นนทบุรี. 6 น.
[4] สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง, 2559, สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2558, กรมควบคุมโรค, นนทบุรี. 6 น.
[5] กรมควบคุมโรค, 2558, แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. 25 น.
[6] ชลิต เกตุแสง, 2558, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของประชาชน อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง, ว.เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2: 24-36.
[7] นิคม แก้ววันดี, วราภรณ์ ศิริสว่าง และศิริขวัญ บริหาร, 2557, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลนครเจดีย์ อำเภอป่าซาง จังหวัดลาพูน, น. 73-86, การประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเขตภาคเหนือ ครั้งที่ 15, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์
[8] พูนสุข ช่วยทอง, บรรเทิง สุพรรณ์ และเปรมวดี คฤหเดช, 2556, การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ, ว.เกื้อการุณย์ 20: 55-69.
[9] สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10, 2555, รูปแบบการพยากรณ์การระบาดโรคไข้เลือดออกใน 8 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย, กรมควบคุมโรค, เชียงใหม่.
[10] ชไมพร จินต์คณาพันธ์, ธนิดา ทีปะปาล, เกศราภรณ์ หนูเจริญ, ขวัญสุดา คันธะมาลย์, ขนิษฐา ขาวนาขา, ธนัฐชา ภุมรินทร์, กาญจนา วังอินตา, สุภาพร การิกาญจน์ และจิตกานต์ สมจิตต์, 2558, ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการป้องกันโรคของครอบครัวที่มีสมาชิกป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก, ว.เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2: 53-65.
[11] อรรถพร ปฏิวงศ์ไพศาล, 2551, การมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชนร่วมใจไมตรี อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
[12] อรนุช พิศาลสุธิกุล, สุเมธ พรหมอินทร์ และวัชชัย ธรรมสัจการ, 2552, พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน กรณีศึกษา : หมู่บ้านในเขตตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดสตูล, สงขลานครินทร์เวชสาร 27: 81-89.
[13] Green, L.W. and Kreuter, M.W., 1992, CDC's planned approach to community health as an application of PRECEDE and an inspiration for PROCEED, J. Health Educ. 23: 140-147.
[14] Bloom, B.S., 1971, Handbook on Formation and Summative Evaluation of Student Learning, McGraw-Hill Book Company, New York, 923 p.
[15] สุดใจ มอนไข่, อภิชาติ ใจอารีย์ และประสงค์ ตันพิชัย, 2556, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชนบ้านวังไทร ตำบลวังน้ำเขียว อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม, Veridian E-J. 6: 461-477.
[16] บรรเทิง สุพรรณ์, พูนสุข ช่วยทอง, สุปรียา ตันสกุล และวงเดือน ปั้นดี, 2555, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษ, การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อการพัฒนาด้านวิจัยอย่างยั่งยืน, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
[17] ชลิต เกตุแสง, 2558, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของประชาชน อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง, ว.เครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2: 24-36.
[18] มนตรี มะลิต้น, สุพรรณี ศรีปัญญากร และบุญมา สุนทราวิรัตน์, 2556, การศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลบ้านเป็ด อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น, ว.วิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6: 121-130.
[19] ปรีดาศักดิ์ หนูแก้ว, วิทยา ผ่องแผ้ว และกีรติ สวยสมเรียม, 2554, พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้ เลือดออกของประชาชนตำบลชัยพร อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย, ว.สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น 18: 47-55.
[20] นงนุช เสือพูมี, กุลฤดี จิตตยานันต์, วันดี วงศ์รัตนรักษ์ และวัลทณี นาคศรีสังข์, 2558, ประสิทธิผลของโปรแกรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม, ว.พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 25: 25-39.
[21] โรงพยาบาลลำปาง, ไข้เลือดออกในลำปาง..กับ..ความเข้าใจ, แหล่งที่มา : http://www.lph.go.th/lampang/index.php/healthy1, 3 กุมภาพันธ์ 2561.
[22] อานนทพร มุกดาม่วง และปาริชา นิพพานนทน์, 2557, การประยุกต์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจป้องกันโรคร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกของตัวแทนครัวเรือน อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น, ว.วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ 7: 325-333.